Page 25 - การศึกษาประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพสำหรับนาข้าวต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตข้าวสังข์หยด จังหวัดพัทลุง
P. 25

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                       15


                       ตารางที่ 4 ปริมาณโพแทสเซียมในดินกอนและหลังการทดลอง ป 2561-2563
                                                                                                              -1
                                                             ปริมาณโพแทสเซียมที่เปนประโยชนในดิน (K 0 : mg.kg )
                                                                                                    2
                                ตํารับการทดลอง                        ป 2561            ป 2562      ป 2563

                                                                   กอน              หลัง   หลัง        หลัง
                        T1 ควบคุม                               30.00        17.33        14.33        15.33

                        T2 ปุยเคมีตามคาวิเคราะหดิน           15.33        16.33        12.67        18.67
                        T3 ปุยชีวภาพรูปแบบน้ํา                 22.67        18.33        14.67        12.67

                        T4 ปุยชีวภาพรูปแบบน้ํา + ปุยเคมี 50 %   20.00      20.67        15.00        14.00
                        T5 ปุยชีวภาพรูปแบบน้ํา + ปุยเคมี 70 %   34.67      19.67        16.33        10.67

                        T6 ปุยชีวภาพรูปแบบผง                   27.33        16.67        14.00        13.33
                        T7 ปุยชีวภาพรูปแบบผง + ปุยเคมี 50 %   16.67        16.33        15.67        15.33
                        T8 ปุยชีวภาพรูปแบบผง + ปุยเคมี 70 %   19.33        18.00        14.67        18.00

                                      F-test                      ns           ns           ns           ns

                                      C.V. (%)                  34.43        11.51        18.39        48.75
                            ns  หมายถึง ไมแตกตางกันทางสถิติ


                       2. การเจริญเติบโตของขาว

                            2.1 การเจริญเติบโตดานความสูงของขาว จากการทดลอง พบวา การจริญเติบโตดานความ

                       สูงของขาวพันธุสังขหยดหลังการทดลองป 2561-2563  ในทุกตํารับไมมีความแตกตางกันทางสถิติ
                       (ตารางที่ 5) โดยในปที่ 1 ตํารับการทดลองที่ 2 การใชปุยเคมีตามคาวิเคราะหดิน ทําใหตนขาวมีความ

                       สูงมากที่สุด รองลงมาคือตํารับที่ 5 ใชปุยชีวภาพรูปแบบน้ํารวมกับปุยเคมี 70 เปอรเซ็นต มีคาเทากับ
                       165.60 และ 164.73 เซนติเมตร ตามลําดับ และในปที่ 3 ตําการทดลองรับที่ 5 ใชปุยชีวภาพรูปแบบ

                       น้ํา รวมกับปุยเคมี 70  เปอรเซ็นต  ก็ยังใหคาความสูงของขาวพันธุสังขหยดสูงที่สุดเทากับ 162.30

                       เซนติเมตร อาจเกิดจากตํารับดังกลาวมีการใชปุยเคมีมากถึง 70 เปอรเซ็นตของคาวิเคราะหดิน
                       รวมกับการใชปุยชีวภาพรูปแบบน้ํา ซึ่งปุยชีวภาพนี้ประกอบดวยอะโซสไปริลลัมที่สามารถตรึง

                       ไนโตรเจน ผลิตฮอรโมนพืช สงเสริมการเจริญเติบโตของขาว (ความสูง และการแตกกอของขาว) อีก

                       ทั้งชวยสรางความตานทานใหกับพืช (Rodrigues et al, 2015) และมีซิลิเกตแบคทีเรียที่ชวยกระตุน
                       การเจริญเติบโตของพืช ลดผลกระทบดานความเครียดตางๆ (ความแหงแลง ความเค็ม ความเปนพิษ

                       ของโลหะหนัก) และเพิ่มกลไกการปองกันพืช จึงทําใหตํารับดังกลาวมีการเจริญเติบโตดานความสูง
                       มากที่สุด
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30