Page 24 - การศึกษาประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพสำหรับนาข้าวต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตข้าวสังข์หยด จังหวัดพัทลุง
P. 24

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                       14


                       ฟอสฟอรัสจะลดนอยลง pH ในชวง 6.0-7.0 มีผลใหระดับความเปนประโยชนของฟอสฟอรัสในดิน

                       เพิ่มขึ้น ชวยสงเสริมฟอสเฟตใหอยูในรูปที่งายสําหรับพืชที่จะใชประโยชน (คณาจารยภาควิชา
                       ปฐพีวิทยา, 2544) จึงสงผลใหปริมาณฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนในดินมีคาสูงขึ้น หลังการทดลองปที่

                       3 ทุกตํารับมีปริมาณฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนในดินสูงขึ้นอยูในชวงสูงมาก (102.33-182.33

                       มิลลิกรัมตอกิโลกรัม)

                       ตารางที่ 3 ปริมาณฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนในดินกอนและหลังการทดลอง ป 2561-2563

                                                                                                             -1
                                                              ปริมาณฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนในดิน (P 0 : mg.kg )
                                                                                                  2 5
                                ตํารับการทดลอง                        ป 2561            ป 2562      ป 2563
                                                                   กอน              หลัง   หลัง        หลัง

                        T1 ควบคุม                                5.67        13.00        127.00       164.00
                        T2 ปุยเคมีตามคาวิเคราะหดิน            8.00        18.33        67.33        109.67

                        T3 ปุยชีวภาพรูปแบบน้ํา                  8.67        20.67        69.67        135.33
                        T4 ปุยชีวภาพรูปแบบน้ํา + ปุยเคมี 50 %   6.33       26.67        57.33        177.67

                        T5 ปุยชีวภาพรูปแบบน้ํา + ปุยเคมี 70 %   6.67       22.33        44.33        102.33
                        T6 ปุยชีวภาพรูปแบบผง                    7.00        17.67        41.33        182.33
                        T7 ปุยชีวภาพรูปแบบผง + ปุยเคมี 50 %    6.33        23.00        67.67        110.67

                        T8 ปุยชีวภาพรูปแบบผง + ปุยเคมี 70 %    8.67        20.00        64.83        136.67

                                      F-test                      ns           ns           ns           ns
                                      C.V. (%)                  27.05        47.99        45.24        42.66
                            ns  หมายถึง ไมแตกตางกันทางสถิติ


                            1.4  ปริมาณโพแทสเซียมที่เปนประโยชนในดิน (Available  K) จากการทดลอง พบวา

                       ปริมาณโพแทสเซียมที่เปนประโยชนในดิน ทั้งกอนและหลังการทดลองป 2561-2563 ในทุกตํารับไมมี

                       ความแตกตางกันทางสถิติ  (ตารางที่ 4) โดยกอนการทดลองปริมาณโพแทสเซียมที่เปนประโยชนใน
                       ดินมีคาอยูในชวงต่ํามาก (15.33-27.33 มิลลิกรัมตอกิโลกรัม) ยกเวนตํารับการทดลองที่ 1 และตํารับ

                       การทดลองที่ 5 มีคาอยูในชวงต่ํา ซึ่งปริมาณโพแทสเซียมที่เปนประโยชนในดินหลังการทดลองในแต

                       ละปจะมีคาลดลง ทั้งนี้เพราะโพแทสเซียมมีการสูญเสียไปจากดินไดมาก  โดยพืชดูดไปใชในการชวย
                       สังเคราะหน้ําตาล แปง โปรตีน และสงเสริมการเคลื่อนยายของน้ําตาลจากใบไปยังผล ชวยใหผล

                       เจริญเติบโตเร็ว (คณาจารยภาควิชาปฐพีวิทยา,  2544) จึงสงผลใหดินหลังการทดลองมีปริมาณ
                       โพแทสเซียมที่เปนประโยชนเหลือตกคางในดินลดลงหรือต่ําลงและอาจติดไปกับผลผลิตที่เก็บเกี่ยว
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29