Page 23 - การศึกษาประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพสำหรับนาข้าวต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตข้าวสังข์หยด จังหวัดพัทลุง
P. 23

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                       13


                            1.2 ปริมาณอินทรียวัตถุในดิน (Organic Matter) จากการทดลองพบวาปริมาณอินทรียวัตถุ

                       ในดินทั้งกอนและหลังการทดลองป 2561-2563 ในทุกตํารับไมมีความแตกตางกันทางสถิติ (ตารางที่
                       2) โดยอินทรียวัตถุในดินกอนการทดลองทุกตํารับการทดลองมีคาอยูในชวงคอนขางต่ํา (1.11-1.32

                       เปอรเซ็นต)  และอินทรียวัตถุในดินหลังการทดลองทั้ง 3 ป มีคาสูงขึ้น ทั้งนี้เปนเพราะในแตละปจะใส

                       ปุยหมักในอัตรา 2,000  กิโลกรัมตอไร ทําใหทุกตํารับการทดลองมีปริมาณอินทรียวัตถุสูงขึ้น แต
                       ปริมาณอินทรียวัตถุก็ยังอยูในชวงคอนขางต่ําเหมือนเดิม โดยตํารับการทดลองที่ 8  การใชปุยชีวภาพ

                       รูปแบบผงรวมกับปุยเคมี 70 เปอรเซ็นต หลังการทดลองปที่ 3 มีปริมาณอินทรียวัตถุในดินมากที่สุดอยู
                       ในชวงปานกลางเทากับ 1.75 เปอรเซ็นต


                       ตารางที่ 2 ปริมาณอินทรียวัตถุในดินกอนและหลังการทดลอง ป 2561-2563

                                                                        ปริมาณอินทรียวัตถุในดิน (%OM)
                                ตํารับการทดลอง                        ป 2561            ป 2562      ป 2563

                                                                   กอน              หลัง   หลัง        หลัง

                        T1 ควบคุม                                1.11         1.02         1.30         1.58
                        T2 ปุยเคมีตามคาวิเคราะหดิน            1.20         1.20         1.43         1.26
                        T3 ปุยชีวภาพรูปแบบน้ํา                  1.32         1.19         1.43         1.37

                        T4 ปุยชีวภาพรูปแบบน้ํา + ปุยเคมี 50 %   1.13        1.10         1.28         1.38
                        T5 ปุยชีวภาพรูปแบบน้ํา + ปุยเคมี 70 %   1.24        1.22         1.32         1.25

                        T6 ปุยชีวภาพรูปแบบผง                    1.13         1.11         1.29         1.41
                        T7 ปุยชีวภาพรูปแบบผง + ปุยเคมี 50 %    1.16         1.12         1.30         1.30

                        T8 ปุยชีวภาพรูปแบบผง + ปุยเคมี 70 %    1.31         1.24         1.25         1.75
                                      F-test                      ns           ns           ns           ns

                                      C.V. (%)                  13.44        17.58        15.84        13.60

                            ns  หมายถึง ไมแตกตางกันทางสถิติ


                            1.3 ปริมาณฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนในดิน (Available P) จากการทดลองพบวา ปริมาณ

                       ฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนในดิน ทั้งกอนและหลังการทดลองป 2561-2563  ในทุกตํารับไมมีความ
                       แตกตางกันทางสถิติ (ตารางที่ 3) ซึ่งทุกตํารับการทดลองมีปริมาณฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนในดิน

                       ในแตละปสูงขึ้น โดยกอนการทดลองทุกตํารับมีปริมาณฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนในดินอยูในชวงต่ํา
                       (5.67-8.67 มิลลิกรัมตอกิโลกรัม)  อาจเปนผลมาจากคา pH ของดิน (จากตารางที่ 1) ซึ่งอยูในชวง

                       กรดจัด (4.80-5.00)  ทําใหพืชนําฟอสฟอรัสไปใชไดนอย หลังการทดลองทุกตํารับมีปริมาณ

                       ฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนในดินสูงขึ้นอยูในชวงปานกลางถึงสูงมาก (13.00-182.33  มิลลิกรัมตอ
                       กิโลกรัม) สอดคลองกับคา pH ที่สูงขึ้นทําใหฟอสฟอรัสอยูในรูปของสารละลายที่พืชนําไปใชไดงายขึ้น

                       เมื่อดินมี pH  อยูระหวาง 6.0-7.0  และถาดินมี pH  สูง หรือต่ํากวาชวงนี้ ความเปนประโยชนของ
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28