Page 34 - การจัดการอินทรียวัตถุในดินเพื่อการผลิตข้าวโพดหวานในระบบเกษตรอินทรีย์ จังหวัดสตูล Soil Organic Matter Management for Sweet Corn Production in Organic Agriculture System, Sutun Province.
P. 34

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                          27



                  สำหรับผลการทดลองปีที่ 2 (ตารางที่ 10) พบว่า ทุกตำรับการทดลองมีความแตกต่างทางสถิติอย่างมีนัยสำคัญยิ่ง
                  ตำรับการทดลองที่ 3 การใส่ปุ๋ยหมักพด.1 อัตรา 2,000 กก.ต่อไร่ ร่วมกับพืชปุ๋ยสด ร่วมกับน้ำหมักชีวภาพ มีความยาว
                  ฝักยาวที่สุดเท่ากับ 12.99 ซม. ตำรับการทดลองที่ 8 การใส่ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูง  อัตรา 100 กก.ต่อไร่ ร่วมกับน้ำ
                  หมักชีวภาพมีความยาวฝักสั้นที่สุดเท่ากับ 7.76  ซม.


                  ตารางที่ 13 ขนาดความยาวฝักข้าวโพดหวานปีที่ 1และปีที่ 2


                                    ตำรับการทดลอง                      ความยาวฝักข้าวโพดหวาน (ซม.)
                                                                          ปีที่  1         ปีที่ 2
                                                                                               ab
                                                                               a
                  ตำรับที่ 1 ปุ๋ยหมักพด.1 อัตรา 2,000 กก.ต่อไร่ ร่วมกับสับ  15.17         12.48
                  กลบตอซังข้าวโพดหวาน
                                                                               a
                  ตำรับที่ 2 ปุ๋ยหมักพด.1 อัตรา 2,000 กก.ต่อไร่ ร่วมกับน้ำหมัก  15.67     11.86
                                                                                               bc
                  ชีวภาพ
                  ตำรับที่ 3 ปุ๋ยหมักพด.1 อัตรา 2,000 กก.ต่อไร่ ร่วมกับพืชปุ๋ย  12.21     12.99
                                                                                               a
                                                                               c
                  สด ร่วมกับน้ำหมักชีวภาพ
                                                                                               cd
                                                                               a
                  ตำรับที่ 4 ปุ๋ยชีวภาพ พด.12 อัตรา 300 กก.ต่อไร่ ร่วมกับสับ  15.49       11.47
                  กลบตอซังข้าวโพดหวาน
                                                                                               cd
                                                                               b
                  ตำรับที่ 5 ปุ๋ยชีวภาพ พด.12 อัตรา 300 กก.ต่อไร่ ร่วมกับน้ำ  13.56       11.06
                  หมักชีวภาพ
                                                                                               cd
                                                                               bc
                  ตำรับที่ 6 ปุ๋ยชีวภาพ พด.12 อัตรา 300 กก.ต่อไร่ ร่วมกับพืช  12.54       11.34
                  ปุ๋ยสด และน้ำหมักชีวภาพ
                                                                                               d
                                                                               a
                  ตำรับที่ 7 ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูง  อัตรา 100 กก.ต่อไร่ ร่วมกับ  15.67    10.83
                  สับกลบตอซังข้าวโพดหวาน
                                                                                               e
                                                                               a
                  ตำรับที่ 8 ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูง  อัตรา 100 กก.ต่อไร่ ร่วมกับ  14.94     7.76
                  น้ำหมักชีวภาพ
                                                                                               cd
                                                                               c
                  ตำรับที่ 9 ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูง  อัตรา 100 กก.ต่อไร่ ร่วมกับ  11.77    11.18
                  พืชปุ๋ยสดและน้ำหมักชีวภาพ
                                        F-test                              **              **
                                        CV (%)                            18.90            14.66
                    หมายเหตุ   ** หมายถึง แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญยิ่ง (P<0.01)

                               ค่าเฉลี่ยในคอลัมน์เดียวกันที่ตามด้วยอักษรเดียวกัน ไม่แตกต่างกันที่ระดับความเชื่อมั่น
                               95% โดยวิธี DMRT

                         4.2 ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางฝักข้าวโพดหวาน

                         การวัดเส้นผ่าศูนย์กลางฝักข้าวโพดโดยใช้เครื่องมือการวัดที่เหมาะสมที่สุด คือ เวอร์เนียร์ จะได้ข้อมูลที่
                  ถูกต้อง ได้มาตรฐาน โดยการปอกเปลือกข้าวโพดก่อนทำการวัด  นำฝักข้าวโพดใส่ในส่วนขาล่างของเวอร์เนียร์ เมื่อทำ
                  การวัดเส้นผ่าศูนย์กลางฝักข้าวโพดเรียบร้อยแล้ว จึงทำการบันทึกข้อมูล จากการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ  พบว่า ผล
                  การทดลองปีที่1 (ตารางที่ 11) พบว่า ทุกตำรับการทดลองไม่มีความแตกต่างทางสถิติ  โดยตำรับการทดลองมีขนาด
                  เส้นผ่าศูนย์กลางใกล้เคียงกันมีค่าอยู่ระหว่าง 3.96 – 4.77  ซม. สำหรับผลการทดลองปีที่ 2 (ตารางที่ 11) พบว่า ผล
                  การทดลองไม่มีความแตกต่างทางสถิติในตำรับการทดลองที่ 4 การใส่ปุ๋ยชีวภาพ พด.12 อัตรา 300 กก.ต่อไร่ ร่วมกับ
                  สับกลบตอซังข้าวโพดหวาน ตำรับการทดลองที่  2  การใส่ปุ๋ยหมักพด.1 อัตรา 2,000 กก.ต่อไร่ ร่วมกับน้ำหมัก

                  ชีวภาพ  ตำรับการทดลองที่ 9  การใส่ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูง  อัตรา 100 กก.ต่อไร่ ร่วมกับพืชปุ๋ยสดและน้ำหมัก
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39