Page 40 - การศึกษาประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพสำหรับนาข้าวต่อการเจริญเติบโต และผลผลิตข้าวปทุมธานี 1 ในดินเหนียว จ.สุพรรณบุรี Study efficiency of biofertilizer for rice cultivation on growth and rice yield in clayer soil in Suphanburi province.
P. 40

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน




                          2. รูปแบบผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพส าหรับนาข้าวมีกระบวนการเลี้ยงในห้องปฏิบัติการแบบปลอดเชื้อ

                   และมีต้นทุนในการเลี้ยงที่สูงแต่มีรูปแบบที่ใช้ง่ายและสะดวก จึงควรมีการศึกษาผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ
                   ก่อนที่จะมีการผลิตในระดับอุตสาหกรรม และควรค านึงถึงการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศของโลก
                          3. ควรศึกษาผลตอบแทนทางเศรษฐกิจของการผลิตข้าวในรูปแบบการใช้ปุ๋ยชีวภาพเนื่องจากอาจได้
                   ผลผลิตไม่สูงมากแต่ต้นทุนหรือคุณภาพของผลผลิตอาจเป็นประเด็นที่ส าคัญรองลงมา



                                                          เอกสารอ้างอิง


                   กมลาภา วัฒนประพัฒน์. 2549. ผลของปุ๋ยพืชสดตระกูลถั่วต่อสมบัติทางเคมี และชีวภาพของดิน และ
                         ผลผลิตข้าวโพดหวานในชุดดินปากช่อง. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

                   กรมพัฒนาที่ดิน. 2541. พืชตระกูลถั่วเพื่อการปรับปรุงบ ารุงดิน. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, กรุงเทพฯ.
                   กรมพัฒนาที่ดิน. 2551. ปุ๋ยอินทรีย์. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, กรุงเทพฯ.
                   กรมวิชาการเกษตร. 2542. เอกสารวิชาการปุ๋ยชีวภาพ. กลุ่มงานวิจัยจุลินทรีย์ดิน กองปฐพีวิทยา
                         กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, กรุงเทพฯ.

                   กลุ่มงานวิจัยจุลินทรีย์ดิน. 2535. เอกสารประกอบการฝึกอบรมหลักสูตรปุ๋ยชีวภาพ รุ่นที่ 9. จัดพิมพ์โดย
                         กลุ่มงานวิจัยจุลินทรีย์ดิน กองปฐพีวิทยา กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, กรุงเทพฯ.
                   กิ่งกานท พานิชนอก. 2552. ผลของการจัดการหญาแฝก พืชปุยสด และปุยเคมีที่มีตอผลผลิตของ
                         ข้าวโพดและสมบัติของดินคลายชุดดินมาบบอนที่มีเนื้อรวนหยาบ. วิทยานิพนธ์ปริญญาเอก,

                         มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
                   คณาจารย์ภาควิชาปฐพีวิทยา. 2548. ปฐพีวิทยาเบื้องต้น. ส านักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.
                   จารุวรรณ เฮียงมะณี. 2551. โครงการทดสอบการปลูกถั่วพุ่มร่วมกับปุ๋ยคอกและปุ๋ยเคมีเพื่อเพิ่มผลผลิต

                         ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์, น. 44. ใน ส านักวิจัยและพัฒนาการจัดการที่ดิน, รวบรวม รายงานผลการ
                         ด าเนินงาน ปี 2550/2551. ส านักวิจัยและพัฒนาการจัดการที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตร
                         และสหกรณ์, กรุงเทพฯ.
                   จักรกฤษณ์ หอมจันทน์ และสงัด ปัญญาพฤกษ์. 2545. การศึกษาส ารวจความสัมพันธ์ระหว่างเชื้อ
                         ไรโซเบียมที่สร้างปมรากวัชพืช และไม้ยืนต้นตระกูลถั่ว และเชื้อไรโซเบียมที่สร้างปมราก

                         ถั่วเศรษฐกิจ: การติดปมข้ามและประสิทธิภาพการตรึงไนโตรเจนจากอากาศ.
                         รายงานการวิจัยทุนอุดหนุนทั่วไป มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
                   จันทนา ศิริไพบูลย์ พรพิมล ชัยวรรณคุปต์ จิตติมา ยถาภูธานนท์ จิตรา คล้ายมนต์ วิมล ปิ่นไพฑูรย์ และ A.B.

                         Mvula. 2541. การใช้ 15n isotope dilution technique และ Acetylene Reduction assay
                         ทดสอบประสิทธิภาพของเชื้อไรโซเบียมบางสายพันธุ์ในดินที่มี pH แตกต่างกัน.
                         วารสารดินและปุ๋ย 20: 153-162.
                   จันทร์จรัส วีรสาร, อรุณศิริ ก าลัง และวรรณา ปลิ้มพวก. 2550. ผลของการปลดปล่อยไนโตรเจนจากมูลโคขุน

                         และมูลโคเลี้ยงปล่อยต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของผักกาดเขียวกวางตุ้ง.
                         วิทยาสารก าแพงแสน 5 (3): 19-26.
                   จิตรา เกาะแก้ว, มนต์ชัย มนัสสิลา, อมรรัตน์ ใจยะเสน, ธนวัฒน์ เสนเผือก และ ภัสชญภณ หมื่นแจ้ง. 2559.
                         การคัดเลือกสายพันธุ์ไรโซเบียมและผลการใช้ไรโซเบียมร่วมกับปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ต่อการเกิดปมและ

                         ประสิทธิภาพการตรึงไนโตรเจนของถั่วเหลืองฝักสดพันธุ์เชียงใหม่ 84-2. น. 350-357. ใน รายงานการ
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45