Page 39 - การศึกษาประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพสำหรับนาข้าวต่อการเจริญเติบโต และผลผลิตข้าวปทุมธานี 1 ในดินเหนียว จ.สุพรรณบุรี Study efficiency of biofertilizer for rice cultivation on growth and rice yield in clayer soil in Suphanburi province.
P. 39
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
ภาพที่ 6 ปริมาณจุลินทรีย์ในผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพส าหรับนาข้าวหลังทดลองปีที่ 3
สรุปผลและข้อเสนอแนะ
1. การศึกษาประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพส าหรับนาข้าวต่อการเปลี่ยนแปลงสมบัติทางเคมี
ในดินเหนียว พบว่า ต ารับทดลองที่ใช้ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพรูปแบบน้ าร่วมกับปุ๋ยเคมี 50 เปอร์เซ็นต์ ท าให้มี
การเปลี่ยนแปลงสมบัติทางเคมีของดิน กล่าวคือ ท าให้ค่าความเป็นกรดเป็นด่าง ปริมาณอินทรียวัตถุ และ
ปริมาณโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ในดินสูงขึ้นกว่าต ารับทดลองอื่น และใกล้เคียงกับการใช้ผลิตภัณฑ์
รูปแบบผงร่วมกับปุ๋ยเคมี 70 เปอร์เซ็นต์
2. การศึกษาประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพส าหรับนาข้าวต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตข้าว
ไม่ไวแสงในดินเหนียว พบว่า ต ารับทดลองที่ใช้ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพส าหรับนาข้าวรูปแบบน้ าร่วมกับปุ๋ยเคมี
50 เปอร์เซ็นต์ (ต ารับทดลองที่ 4) และต ารับทดลองที่ใช้ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพส าหรับนาข้าวรูปแบบผงร่วมกับ
ปุ๋ยเคมี 50 เปอร์เซ็นต์ (ต ารับทดลองที่ 7) มีเปอร์เซ็นต์เมล็ดลีบต่ าสุด การเจริญเติบโตด้านความสูงเฉลี่ย
สูงสุด 99.15 เซนติเมตร น้ าหนักเมล็ดลีบเฉลี่ยต่ าสุด 25.37 เปอร์เซ็นต์ น้ าหนักข้าว 100 เมล็ดเฉลี่ย 3.50
กรัม และให้ผลผลิตข้าวปทุมธานี 1 เฉลี่ยสูง 467.41 กิโลกรัมต่อไร่
3. เปรียบเทียบผลิตภัณฑ์ทั้งสองรูปแบบสามารถใช้ได้โดยถ้าใช้รูปแบบน้ า ใช้ร่วมกับปุ๋ยเคมี 50
เปอร์เซ็นต์ ส าหรับรูปแบบผง ใช้ร่วมกับปุ๋ยเคมี 70 เปอร์เซ็นต์
4. ผลการวิเคราะห์ปริมาณกรดจัสมอนิค ซึ่งเป็นฮอร์โมนที่เกี่ยวข้องต่อระบบภูมิคุ้มกันของพืชแบบ
ISR เพื่อยืนยันว่าเชื้อราเอนโดไฟต์เข้าอาศัยอยู่ในข้าวปทุมธานี 1 พบว่าการใช้ในผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพรูปแบบ
ผงพบปริมาณกรดจัสมอนิคสูงกว่าการใช้ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพรูปแบบน้ า
ประโยชน์ที่ได้รับ
1. การน าปุ๋ยชีวภาพส าหรับนาข้าวไปใช้ควรแนะน าให้เพิ่มอินทรียวัตถุให้กับดินเพื่อให้จุลินทรีย์
สามารถเจริญเติบโตและอยู่รอดในดินได้