Page 38 - การศึกษาประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพสำหรับนาข้าวต่อการเจริญเติบโต และผลผลิตข้าวปทุมธานี 1 ในดินเหนียว จ.สุพรรณบุรี Study efficiency of biofertilizer for rice cultivation on growth and rice yield in clayer soil in Suphanburi province.
P. 38

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน




                          4. การวิเคราะห์ปริมาณกรดจัสมอนิคหลังการทดลองด้วยวิธี               Enzyme-linked

                   immunosorbent assay (ELISA)
                            การวิเคราะห์ปริมาณกรดจัสมอนิค ซึ่งเป็นฮอร์โมนที่เกี่ยวข้องต่อระบบภูมิคุ้มกันของพืชแบบ ISR
                   เพื่อยืนยันว่าเชื้อราเอนโดไฟต์เข้าอาศัยอยู่ในข้าวปทุมธานี 1 ที่ใช้ในการทดลองจริง โดยใช้ชุดวิเคราะห์
                   ส าเร็จรูป Plant Jasmonic Acid (JA) ELISA Kit  ซึ่งสกัดจากตัวอย่างใบข้าวอายุ 30 วัน (ช่วงเตรียมกล้า)
                   และ 120 วัน (ก่อนเก็บเกี่ยว) ส าหรับต ารับทดลองที่แช่รากในผลิตภัณฑ์เชื้อราเอนโดไฟต์ วัดค่าการดูดกลืน

                   แสงที่ความยาวคลื่น 450 นาโนเมตร
                          จากผลการวิเคราะห์ปริมาณการแช่รากและเข้าสู่ใบข้าวในปีที่ 1 พบว่าสามารถเหนี่ยวน าให้เกิดการ
                   สร้างกรดจัสมอนิคได้มากกว่าต ารับควบคุม (ต ารับทดลองที่ 1) และการใช้ปุ๋ยเคมีตามค่าวิเคราะห์ดิน (ต ารับ

                   ทดลองที่ 2) โดยการใช้การใช้ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพรูปแบบน้ าร่วมกับปุ๋ยเคมี 70 เปอร์เซ็นต์ การใช้ผลิตภัณฑ์
                   ปุ๋ยชีวภาพรูปแบบผง ใช้ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพแบบผงร่วมกับปุ๋ยเคมี 50 และ 70 เปอร์เซ็นต์ ตามล าดับ (ต ารับ
                   ทดลองที่ 5 6 7 และ 8) ต ารับทดลองที่ 5 มีปริมาณกรดจัสมอนิคสูงสุด 0.48 นาโนโมลต่อมิลลิลิตร รองลงมา
                   คือ ต ารับที่ 6 มีปริมาณกรดจัสมอนิค 0.47 นาโนโมลต่อมิลลิลิตร และพบว่าใช้ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพรูปแบบ

                   ผงร่วมกับปุ๋ยเคมีตามค่าวิเคราะห์ดิน 50% (ต ารับที่ 7) ใช้ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพรูปแบบผงร่วมกับปุ๋ยเคมีตาม
                   ค่าวิเคราะห์ดิน 70%  มีปริมาณกรดจัสมอนิค 0.41 และ 0.40 ตามล าดับ และเมื่อเปรียบเทียบผลิตภัณฑ์
                   รูปแบบน้ าและรูปแบบผงพบว่า การใช้ในรูปแบบผงพบปริมาณกรดจัสมอนิคที่สูงกว่าการใช้รูปแบบน้ า ดัง
                   แสดงในภาพที่ 5

                          จากผลการวิเคราะห์ปริมาณการแช่รากและเข้าสู่ใบข้าวในปีที่ 3 พบว่าต ารับที่ 7 ใช้ผลิตภัณฑ์ปุ๋ย
                   ชีวภาพรูปแบบผงร่วมกับปุ๋ยเคมี 50 เปอร์เซ็นต์ สามารถเหนี่ยวน าให้เกิดการสร้างกรดจัสมอนิคได้มากกว่า
                   ต ารับควบคุม (ต ารับทดลองที่ 1) และการใช้ปุ๋ยเคมีตามค่าวิเคราะห์ดิน (ต ารับทดลองที่ 2) มีปริมาณกรดจัส
                   มอนิคสูงสุด 0.48 นาโนโมลต่อมิลลิลิตร โดยการใช้ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพรูปแบบผง (ต ารับที่ 5) ต ารับทดลอง

                   ที่ 5 มีปริมาณกรดจัสมอนิคสูงสุด 0.28 นาโนโมลต่อมิลลิลิตร และเมื่อเปรียบเทียบผลิตภัณฑ์รูปแบบน้ าและ
                   รูปแบบผงพบว่า การใช้ในรูปแบบผงพบปริมาณกรดจัสมอนิคที่สูงกว่าการใช้รูปแบบน้ า ดังแสดงในภาพที่ 6






























                   ภาพที่ 5  ปริมาณจุลินทรีย์ในผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพส าหรับนาข้าวหลังทดลองปีที่ 1
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43