Page 37 - ผลการปรับปรุงดินด้วยถ่านชีวภาพต่อปริมาณความชื้นและการแทรกซึมน้ำในดินปลูกมันสำปะหลัง Effect of Biochar for Soil Amendment on Moisture Content and Water Infiltration for Planting Cassava
P. 37

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                           31



                    ตารางที่ 12 แสดงผลของถ่านชีวภาพต่อน้ำหนักลำต้น เหง้า กิ่งก้านและใบของมันสำปะหลัง ของกลุ่มดินเนื้อหยาบ

                       ตำรับที่        ลำต้น               เหง้า          กิ่งก้านและใบ    น้ำหนักส่วนเหนือดิน

                                     (ton/rai)           (ton/rai)          (ton/rai)          (ton/rai)
                                  ปีที่ 1   ปีที่ 2   ปีที่ 1   ปีที่ 2   ปีที่ 1   ปีที่ 2   ปีที่ 1   ปีที่ 2

                       T1       3.0±0.2 ab   1.8±0.2  0.5±0.1  0.7±0.1  0.6±0.05  0.7±0.2  4.1 ±0.2  3.2±0.5
                                                                                             ab
                                                                                             b
                       T2        2.7±0.4 b   1.8±0.5  0.5±0.03  0.6±0.09  0.4±0.08  0.5±0.2  3.8 ±0.6  2.9±0.8
                       T3        3.6±0.5 a   1.8±0.4  0.6±0.07  0.7±0.1  0.7±0.2  0.7±0.3  4.9 ±0.7  3.2±0.6
                                                                                             a
                       F-test       *         -        -         -         -        -         *         -

                       ค่าเฉลี่ย   3.1±0.5  1.8±0.3  0.5±0.07  0.6±0.09  0.6±0.07  0.6±0.2  4.3±0.7  3.1±0.6
                       CV. (%)     16.6     19.1      12.4      14.4     28.4      35.2     16.3      18.4

                           หมายเหตุ: * หมายถึง ค่าเฉลี่ยในแนวตั้ง มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ


                       ▪  แปลงมันสำปะหลัง อำเภอห้วยแถลง (ปี 2561) และอำเภอลำปลายมาศ (ปี 2562-2563) ตัวแทนกลุ่มดิน
                    เนื้อปานกลาง

                           เนื่องจากเกิดน้ำขังในพื้นที่อำเภอห้วยแถลง ซึ่งเป็นพื้นที่ลุ่มต่ำทำให้ผลผลิตมันสำปะหลังเสียหาย จึงไม่
                    สามารถเก็บข้อมูลผลผลิตในปีแรกได้ และได้ย้ายพื้นที่ทำการทดลองไปอำเภอลำปายมาศ ผลการใส่ถ่านชีวภาพ
                    พบว่าผลผลิตมันสำปะหลัง การสะสมแป้ง และผลผลิตแป้ง ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ แสดงดังตารางที่

                    13 โดยผลผลิตหัวมันสำปะหลังค่าเฉลี่ย 7.1 ตันต่อไร่ ร้อยละการสะสมแป้งเฉลี่ย 26.3 และผลผลิตแป้งมีค่าเฉลี่ย
                    0.44 ตันต่อไร่

                    ตารางที่ 13 แสดงผลของถ่านชีวภาพต่อผลผลิตและองค์ประกอบผลผลิตของมันสำปะหลัง ของกลุ่มดินเนื้อปานกลาง


                       ตำรับที่        น้ำหนักผลผลิต            การสะสมแป้ง                ผลผลิตแป้ง
                                         (ton/rai)                  (%)                     (ton/rai)
                                    ปีที่ 1      ปีที่ 2     ปีที่ 1      ปีที่ 2      ปีที่ 1     ปีที่ 2

                       T1             -        13.2±5.5        -       25.3±0.003        -       0.93±0.88
                       T2             -         5.1±3.3        -       26.7±0.000        -       0.21±0.01

                       T3             -         5.2±2.3        -       26.9±0.001        -       0.19±0.16
                       F-test         -            -           -            -            -           -

                       ค่าเฉลี่ย      -         7.1±5.0        -       26.3±0.001        -       0.44±0.55
                       CV. (%)        -          162           -           6.3           -          124
   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42