Page 3 - การจัดทำค่ามาตรฐานธาตุอาหารพืชในชาน้ำมันเพื่อใช้เป็นค่าวินิจฉัยสำหรับให้คำแนะนำปุ๋ย Preparation of Standard Plant Nutrients in Camellia oleifera Able. for Use as Diagnostic for Fertilizer Recommendations.
P. 3

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                          (2)


                   ทะเบียนวิจัยเลขที่  62-63-09-04-010903-010-106-01-11
                   ชื่อโครงการวิจัย    การจัดท้าค่ามาตรฐานธาตุอาหารพืชในชาน ้ามันเพื่อใช้เป็นค่าวินิจฉัยส้าหรับให้

                                     ค้าแนะน้าปุ๋ย

                                     Preparation of standard plant nutrients in Camellia oleifera Able. for use
                                     as diagnostic for fertilizer recommendations

                   กลุ่มชุดดิน       กลุ่มชุดดินที่ 30 ชุดดินดอยปุย (Doi pui soil series: Dp)
                   สถานที่ด้าเนินการ  1) พื นที่เก็บตัวอย่างดินและพืช บ้านปางมะหัน ต้าบลเทอดไทย อ้าเภอแม่ฟ้าหลวง

                                        จังหวัดเชียงราย พิกัด (Q47 559541E, 2247103N)

                                     2) ห้องปฏิบัติการส้านักวิทยาศาสตร์เพื่อการพัฒนาที่ดิน
                   ผู้ร่วมด้าเนินการ   นายสุทธิ์เดชา ขุนทอง (Mr. Sutdacha Khunthong)

                                     นางชนินาถ การะภักดี (Mrs. Chaninat Karapakdee)


                                                            บทคัดย่อ


                          ปัจจุบันการปลูกชาน ้ามันในประเทศไทยยังไม่มีรายงานค่ามาตรฐานธาตุอาหารส้าหรับใช้แปลผล
                   วิเคราะห์ดินและพืช การศึกษาครั งนี จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างค่ามาตรฐานธาตุอาหารพืชในชาน ้ามันเพื่อใช้

                   เป็นค่าวินิจฉัยส้าหรับให้ค้าแนะน้าปุ๋ย โดยการวิเคราะห์สถานะธาตุอาหารในดิน จ้านวน 245 ตัวอย่าง และ
                   วิเคราะห์สถานะธาตุอาหารในใบชาน ้ามัน ครอบคลุมทั งต้นที่ให้ผลผลิตสูง ปานกลาง ต่้า และไม่ให้ผลผลิต
                   จ้านวนทั งหมด 103 ต้น รวมถึงวิเคราะห์ใบที่มีลักษณะผิดปกติ (มีจุดด่างสีน ้าตาล) เปรียบเทียบกับใบสมบูรณ์

                   ผลการศึกษา พบว่า พื นที่ปลูกชาน ้ามัน มีการสะสมของแมงกานีสที่สกัดได้อยู่ในระดับสูง ส่งผลให้เกิดอันตร
                   กิริยาเชิงลบต่อ ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม แคลเซียม แมกนีเซียม ก้ามะถัน ทองแดง และสังกะสี แต่ส่งเสริมให้
                   ต้นชาน ้ามันดูดแมงกานีสไปสะสมในใบมากเกินความจ้าเป็น และอาจอยู่ในระดับที่เป็นพิษต่อพืช ดังนั น จึง

                   ควรปรับความสมดุลของธาตุอาหารในดิน ซึ่งสามารถพิจารณาจากช่วงสัดส่วนที่เหมาะสมระหว่างแมงกานีส
                   กับธาตุอาหารชนิดต่าง ๆ ในดินเบื องต้น ได้แก่ แมงกานีส/ฟอสฟอรัส 2.5-4.1, แมงกานีส/โพแทสเซียม 0.4-

                   0.5, แมงกานีส/แคลเซียม 0.0002-0.07, แมงกานีส/แมกนีเซียม 0.04-0.2, แมงกานีส/ก้ามะถัน 0.7-1.8,
                   แมงกานีส/ทองแดง 6.2-19.9 และ แมงกานีส/สังกะสี 0.2-14.3 ในขณะที่ พีเอชดิน ปริมาณอินทรียวัตถุ
                   ฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ โพแทสเซียม แคลเซียม และแมกนีเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ ควรอยู่ในช่วง 5.19-
                   5.39, 32.72-38.63 ก/กก. 8.18-17.54, 219-269, 422-550 และ 197-240 มก./กก. ตามล้าดับ ส่วนความ

                   เข้มข้นแนะน้าเบื องต้นของไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม แคลเซียม แมกนีเซียม ก้ามะถัน ทองแดง
                   สังกะสี และเหล็ก ในใบชาน ้ามัน  พบว่า ควรอยู่ในช่วง 15.28-16.16, 0.87-0.95, 4.53-5.27, 11.84-13.68,

                   1.92-2.32, 0.46-0.67 8-13, 15-19 และ 116-139 ก/กก. ตามล้าดับ อย่างไรก็ตาม อาจสามารถเพิ่มผลผลิต
                   ชาน ้ามันได้อีก หากลดระดับแมงกานีสในดิน แต่เพิ่มปริมาณฟอสฟอรัส โพแทสเซียม และก้ามะถัน เนื่องจาก
                   ช่วงความเข้มข้นแนะน้าที่ได้จากการศึกษาในครั งนี  อยู่ในช่วงต่้ากว่าค่าแนะน้าในพืชโดยทั่วไป จึงควรศึกษา

                   การตอบสนองของธาตุอาหารชนิดดังกล่าวเพิ่มเติม

                   ค้าส้าคัญ: ธาตุอาหารพืช, ปฏิปักษ์, ความเป็นพิษ, สมดุลธาตุอาหาร, การวิเคราะห์ดินและพืช
   1   2   3   4   5   6   7   8