Page 97 - การประเมินคุณภาพดินเพื่อการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ ทางการเกษตรที่มีอัตราการชะล้างพังทลายสูงโดยใช้เทคนิคนิวเคลียร์ จังหวัดกาญจนบุรี Assessing soil quality and enhance crop productivity through agriculture management using nuclear techniques in the area of erosion in Kanchanaburi province.
P. 97

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                       91


                          พื้นที่ที่ไมรบกวนหนาดินในโครงการวิจัยนี้ เปนพื้นที่ปลูกปาผสมกับยางพารา โดยในการเก็บขอมูลครั้งที่
                   1 (เดือนเมษายน) ดังที่แสดงในตารางที่ 28 พบวา ประเภทความลาดชันทั้งหาบริเวณมีอัตราสวนของการชะลาง
                   พังทลายของดินมากกวาการทับถมของตะกอนดินในทุกบริเวณ แตอยางไรก็ตาม ในจุดที่มีการทับถมของตะกอน
                   ดินกลับมาคาเฉลี่ยของ SRD จนทําใหพบอัตราการเคลื่อนยายดินสุทธิ มีคาเปนบวก หรือมีอัตราการทับถมของ

                   ตะกอนดินในพื้นที่บริเวณ Toeslope และ Backslope ซึ่งอยูในตําแหนงลางและตําแหนงกึ่งกลางของพื้นที่
                   ศึกษาตามลําดับ โดยมีคา SRD สุทธิ เรียงตามประเภทของความลาดชัน ดังนี้ toeslope มีคา SRD เทากับ
                   6.497 t/ha/yr; Footslope มีคา SRD เทากับ -0.849 t/ha/yr; Backslope มีคา SRD เทากับ 5.655 t/ha/yr;
                   Sholuder มีคา SRD เทากับ -1.353 t/ha/yr; และ Summit มีคา SRD เทากับ -0.754 t/ha/yr โดยมีคาเฉลี่ย
                   ของ SRD สุทธิในภาพรวมของพื้นที่ปายางพารา  เทากับ 1.839 t/ha/yr ซึ่งหมายถึงมีการเคลื่อนยายของดินจาก
                   ที่อื่น มาทับถมยังบริเวณที่ศึกษาวิจัย ตอมาในการเก็บขอมูลครั้งที่ 2 (เดือนมิถุนายน) ดังที่แสดงในตารางที่ 31
                   พบวา ประเภทความลาดชันทั้งหาบริเวณมีอัตราสวนของการชะลางพังทลายของดินมากกวาการทับถมของ
                   ตะกอนดินในทุกบริเวณ โดยเฉพาะพื้นที่ทางตอนกลางของพื้นที่ศึกษาที่มีการชะลางพังทลายของดินมากที่สุด
                   กลาวคือ บริเวณ Backslope มีอัตราสวนของจุดเก็บตัวอยางดินที่เกิดการชะลางพังทลายของดินกับจุดเก็บ

                   ตัวอยางดินที่เกิดการทับถมของตะกอนดิน เทากับ 8:1 .ในขณะที่บริเวณ Toeslope พบวามีคา SRD ที่เปนการ
                   ทับถมของตะกอนดินสูงที่สุด เทากับ 4.227 t/ha/yr ดังนั้น คา SRD สุทธิ เมื่อเรียงตามประเภทของความลาดชัน
                   จะประกอบดวย toeslope มีคา SRD เทากับ 4.227 t/ha/yr; Footslope มีคา SRD เทากับ -0.169 t/ha/yr;
                   Backslope มีคา SRD เทากับ -6.611 t/ha/yr; Sholuder มีคา SRD เทากับ -0.219 t/ha/yr; และ Summit มี
                   คา SRD เทากับ 2.116 t/ha/yr โดยมีคาเฉลี่ยของ SRD สุทธิในภาพรวมของพื้นที่ เทากับ -0.131 t/ha/yr
                   ในขณะที่ผลการศึกษาที่ไดจากการเก็บขอมูลครั้งที่ 3 (เดือนสิงหาคม) สามารถรายงานไดวา พื้นที่ปายางพารา  มี
                   คา SRD เปนการชะลางพังทลายของดินในพื้นที่แถบตอนลางของพื้นที่ศึกษา ตั้งแต บริเวณ Backslope ไปจนถึง

                   บริเวณ Toeslope ในขณะที่บริเวณ Shoulder และ Summit พบอัตราการทับถมของตะกอนดิน (ตารางที่ 34)
                   โดยคา SRD ที่เรียงตามประเภทความลาดชัน จะประกอบดวย toeslope มีคา SRD เทากับ -0.612 t/ha/yr;
                   Footslope มีคา SRD เทากับ -7.883 t/ha/yr; Backslope มีคา SRD เทากับ -6.850 t/ha/yr; Sholuder มีคา
                   SRD เทากับ 16.012 t/ha/yr; และ Summit มีคา SRD เทากับ 14.294 t/ha/yr โดยมีคาเฉลี่ย SRD โดยรวม
                   ของพื้นที่ เทากับ 2.992 t/ha/yr
                          พื้นที่เพาะปลูกพืชของเกษตรกรที่มีการนํามาตรการอนุรักษดินและน้ํามาใชในพื้นที่ หรือพื้นที่จัดระบบ
                   อนุรักษฯ โดยกรมพัฒนาที่ดิน  สามารถรายงานผลการศึกษาได ดังนี้ คาเฉลี่ย SRD ในการเก็บขอมูลครั้งที่ 1
                   (เดือนเมษายน) ดังตารางที่ 29 พบวา อัตราการเคลื่อนยายดินสุทธิ มีคาที่ใกลเคียงกันในบริเวณความลาดชันโดย
                   สวนใหญ ยกเวนพื้นที่บริเวณ Toeslope ที่มีอัตราการทับถมของตะกอนดินสูงที่สุด ซึ่งคา SRD สุทธิ เรียงตาม
                   ประเภทความลาดชัน จะประกอบดวย toeslope มีคา SRD เทากับ 8.650 t/ha/yr; Footslope มีคา SRD

                   เทากับ 0.184 t/ha/yr; Backslope มีคา SRD เทากับ -0.212 t/ha/yr; Sholuder มีคา SRD เทากับ -1.872
                   t/ha/yr; และ Summit มีคา SRD เทากับ 1.068 t/ha/yr โดยมีคาเฉลี่ย SRD โดยรวมของพื้นที่ เทากับ 1.563
                   t/ha/yr ตอมาในการเก็บขอมูลครั้งที่ 2 (เดือนมิถุนายน) พบวา ความลาดชันบริเวณ Backslope และ
                   Shoulder มีอัตราสวนของจุดเก็บตัวอยางดินที่เกิดการชะลางพังทลายของดินกับจุดเก็บตัวอยางดินที่เกิดการทับ
                   ถมของตะกอนดิน เทากับ 3:6 และ 2:7 ตามลําดับ ซึ่งเปนบริเวณที่มีการทับถมของตะกอนดินในพื้นที่ศึกษาเพียง
                   สองบริเวณ โดยบริเวณอื่น ๆ จะเปนพื้นที่ที่มีการชะลางพังทลายทั้งสิ้น (บริเวณ Toeslope และ Footslope)
                   ในขณะที่บริเวณ Summit เปนริเวณที่มีการเคลื่อนยายของดินที่นอยที่สุด และมีคาใกลศูนยมากที่สุดใน

                   โครงการวิจัยนี้ ซึ่งคา SRD สุทธิ เรียงตามประเภทความลาดชัน จะประกอบดวย toeslope มีคา SRD เทากับ –
                   0.432 t/ha/yr; Footslope มีคา SRD เทากับ 5.682 t/ha/yr; Backslope มีคา SRD เทากับ 17.233 t/ha/yr;
                   Sholuder มีคา SRD เทากับ 14.317 t/ha/yr; และ Summit มีคา SRD เทากับ 6.442 t/ha/yr โดยมีคาเฉลี่ย
                   SRD โดยรวมของพื้นที่ เทากับ 8.648 t/ha/yr
   92   93   94   95   96   97   98   99   100   101   102