Page 96 - การประเมินคุณภาพดินเพื่อการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ ทางการเกษตรที่มีอัตราการชะล้างพังทลายสูงโดยใช้เทคนิคนิวเคลียร์ จังหวัดกาญจนบุรี Assessing soil quality and enhance crop productivity through agriculture management using nuclear techniques in the area of erosion in Kanchanaburi province.
P. 96

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                       90


                                      210
                          หลังจากนําคา  Pbex ที่ไดจากการวิเคราะหตัวอยางดิน ซึ่งมีหนวยเปน Bq/kg ก็จะตองนํามาคํานวน
                                                                                                210
                                               210
                   ใหอยูในรูปปริมาณเชิงพื้นที่ ซึ่งก็คือ  Pbex Inventory of local condition ซึ่งหมายถึง ปริมาณ  Pbex คอ
                                                               2
                   พื้นที่ 1 ตารางเมตร ในพื้นที่ศึกษา มีหนวยเปน Bq/m  จากนั้นใหนํามาแทนคาในสมการ Mass Balance II
                   Model ก็จะไดอัตราการเคลื่อนยายของดิน (Soil redistribution rate, SRD) ซึ่งมีหนวยเปน t/ha/yr
                          อยางไรก็ตามการเคลื่อนยายของดิน (SRD) แบงไดเปน 2 รูปแบบ คือการสูญเสียตะกอนดินออกไปจาก
                   พื้นที่ใด ๆ หรือการชะลางพังทลายของดิน (Soil erosion) และการเคลื่อนยายของตะกอนดินมาทับถมกันใน
                   พื้นที่ใด ๆ (Soil deposition) ซึ่งการคาดการณวาบริเวณใดที่มีการสูญเสียตะกอนดินหรือการทับถมตะกอนดิน
                                                                              210
                                      210
                   จะทําการคํานวนจากคา  Pbex Inventory ในพื้นที่ศึกษา เปรียบเทียบกับ  Pbex Inventory ในพื้นที่อางอิง
                    210
                   ( Pbs Inventory of reference) โดยสมมติให พื้นที่อางอิงนี้ คือพื้นที่ที่มีการตกหลนของนิวไคลดกัมมันตรังสี
                                                                                          210
                       210
                   ของ  Pb โดยอิสระ ปราศจากสิ่งรบกวนใด ๆ โดยเฉพาะกิจกรรมของมนุษย ดังนั้น ถาคา  Pbex Inventory
                                              210
                   of local condition มีคานอยกวา  Pbex Inventory of reference สามารถตีความไดวา บริเวณที่ศึกษาเกิด
                                                                                                   210
                   การสูญเสียตะกอนดิน เชน อาจเกิดจากการเขตกรรม หรือกิจกรรมอื่น ๆ ของมนุษยเปนตัวเรง แตถา Pbex
                                                       210
                   Inventory of local condition มีคามากกวา  Pbex Inventory of reference ตีความวา บริเวณที่ศึกษาเกิด
                                                               210
                   การเคลื่อนยายทับถมของตะกอนดิน เพราะพบปริมาณ  Pb มากกวา พื้นที่ที่ไมมีการรบกวนใด ๆ ดวยเหตุนี้
                   เพื่อใหเขาใจการเปลี่ยนแปลงเคลื่อนยายของดินมากขึ้น จึงขอแทนคาเครื่องหมายลบ สําหรับการสูญเสียตะกอน
                   ดิน และเครื่องหมายบวก สําหรับการทับถมของตะกอนดิน โดยที่การเคลื่อนยายของดินทั้งสองรูปแบบนี้ สงผล
                   ทั้งแงบวกและแงลบตอพื้นที่ทั้งสิ้น โดยจะขออธิบายผลการศึกษาในปจจัยดานการเคลื่อนยายของดิน ดังนี้
                          ผลการศึกษาของอัตราการเคลื่อนยายของดิน (SRD) เมื่อเปรียบเทียบตามพื้นที่ศึกษาในแตละชวงเวลา
                   สามารถอธิบายได ดังนี้
                          พื้นที่ปลูกพืชทั่วไป  มีคาเฉลี่ย SRD ในการเก็บขอมูลครั้งที่ 1 (เดือนเมษายน) แสดงในตารางที่ 27

                   กลาวคือ อัตราสวนระหวางการชะลางพังทลายของดินและการทับถมของตะกอนดินมีความแตกตางกันในแตละ
                   ระดับความลาดชัน โดยพื้นที่ที่อยูสูงกวา จะมีอัตราการชะลางพังทลายที่มากกวา (Summit มีคา SRD เทากับ -
                   8.961 t/ha/yr; Sholuder มีคา SRD เทากับ -2.494 t/ha/yr; Backslope มีคา SRD เทากับ -0.230 t/ha/yr)
                   ในขณะที่พื้นที่ที่อยูต่ํากวา จะมีอัตราการทับถมของตะกอนดินที่มากกวา (Footslope มีคา SRD เทากับ 6.616
                   t/ha/yr; toeslope มีคา SRD เทากับ 7.577 t/ha/yr) โดยมีคาเฉลี่ย SRD โดยรวมของพื้นที่ เทากับ 0.502
                   t/ha/yr เมื่อเก็บขอมูลครั้งที่ 2 (เดือนมิถุนายน) พบวา คา SRD มีแนวโนมไปทางการชะลางพังทลายของดินมาก
                   ขึ้น (ตารางที่ 30) โดยพื้นที่สวนใหญตั้งแตบริเวณต่ําสุด คือ Toeslope ขึ้นไปจนถึงบริเวณ Shoulder พบการชะ
                   ลางพังทลายของดินทั้งหมด ยกเวนบริเวณ Summit ที่มีการทับถมของตะกอนดิน ในขณะที่อัตราของการชะลาง
                   พังทลายของดินมีคาสูงที่สุด ณ บริเวณพื้นที่ที่ต่ําที่สุด และคอย ๆ ลดลง เมื่อพื้นที่อยูในระดับที่สูงขึ้น (toeslope
                   มีคา SRD เทากับ -8.136 t/ha/yr; Footslope มีคา SRD เทากับ -8.042 t/ha/yr; Backslope มีคา SRD

                   เทากับ -6.723 t/ha/yr; Sholuder มีคา SRD เทากับ -1.012 t/ha/yr; และ Summit มีคา SRD เทากับ 5.590
                   t/ha/yr) โดยมีคาเฉลี่ย SRD โดยรวมของพื้นที่ เทากับ -3.665 t/ha/yr ในขณะที่ผลการศึกษาของพื้นที่ปลูกพืช
                   ทั่วไป  ในการเก็บขอมูลครั้งที่ 3 (เดือนสิงหาคม) ดังที่แสดงในตารางที่ 33 พบวา คา SRD มีแนวโนมไปทางการ
                   ชะลางพังทลายของดินมากขึ้นโดยพื้นที่สวนใหญตั้งแตบริเวณที่สูงที่สุดของพื้นที่ศึกษา (Summit) ไปจนถึง
                   บริเวณ Footslope เปนการชะลางพังทลายของดินทั้งหมด ยกเวนบริเวณ Toeslope ที่พบอัตราการทับถมของ
                   ตะกอนดินที่สูงกวา ในขณะที่อัตราของการชะลางพังทลายของดินมีคาสูงที่สุด ณ บริเวณพื้นที่ที่สูงที่สุด และคอย
                   ๆ ลดลง เมื่อพื้นที่อยูในระดับที่ต่ําลงมา (toeslope มีคา SRD เทากับ 4.395 t/ha/yr; Footslope มีคา SRD

                   เทากับ -0.884 t/ha/yr; Backslope มีคา SRD เทากับ -1.306 t/ha/yr; Sholuder มีคา SRD เทากับ -2.110
                   t/ha/yr; และ Summit มีคา SRD เทากับ -9.248 t/ha/yr) โดยมีคาเฉลี่ย SRD โดยรวมของพื้นที่ เทากับ -
                   1.830 t/ha/yr
   91   92   93   94   95   96   97   98   99   100   101