Page 95 - การประเมินคุณภาพดินเพื่อการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ ทางการเกษตรที่มีอัตราการชะล้างพังทลายสูงโดยใช้เทคนิคนิวเคลียร์ จังหวัดกาญจนบุรี Assessing soil quality and enhance crop productivity through agriculture management using nuclear techniques in the area of erosion in Kanchanaburi province.
P. 95

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                       89


                                        210
                                                                       210
                          A ref คือ ปริมาณ  Pbex ในดินที่อยูในพื้นที่ที่ใชอางอิง ( Pbex Inventory of reference) มีหนวย
                                                                                             210
                   เปน Bq/m  ซึ่งเปนการอางอิงปริมาณ  Pbex ที่ตกลงสูผิวหนาดิน โดยคาดการณวาปริมาณ  Pbex จะตอง
                                                  210
                            2
                   ตกลงสูผิวหนาดิน และมีการเปลี่ยนแปลงโดยธรรมชาติ และไมมีปจจัยใด ๆ ที่รบกวนหนาดินดังกลาว โดยเฉพาะ
                                                                           210
                   กิจจกรมของมนุษย โดยสวนใหญแลว จะทําการเก็บขอมูลปริมาณ  Pbex ที่ใชสําหรับอางอิง ในบริเวณ
                   จุดสูงสุดของพื้นที่ศึกษา เชน ยอดเขา และเก็บขอมูลไลระดับตามความลาดชันลงมา รวมถึงจะตองเปนพื้นที่ที่ไม
                   มีการรบกวนหนาดินใด ๆ ทั้งสิ้น เชน พื้นที่ปาที่ใกลกับพื้นที่ศึกษา เปนตน โดยในโครงการวิจัยนี้ ไดทําการเก็บ
                   ขอมูลอางอิงดังกลาว ณ บริเวณพื้นที่ปาติดกับพื้นที่เพาะปลูกยางพารา ในพื้นทึ่กษาที่ 2 โดยเก็บขอมูลเหมือนกับ
                   พื้นที่ศึกษษทั่วไป คือ เก็บขอมูลที่ระดับความลึก เทากับ 0-10 10-20 และ 20-30 เซนติเมตร โดยเก็บในพื้นที่
                                                               210
                   ลาดชันทั้งหาบริเวณ ซึ่งสามารถหาคาเฉลี่ยของปริมาณ  Pbex ที่ใชสําหรับอางอิงได เทากับ 24.079 Bq/kg
                                 2
                   หรือ 3.251 Bq/m
                                                                                  2
                          d คือ มวลดินตามระดับความลึกของชั้นไถพรวน มีหนวยเปน kg/m  ซึ่งจะคลายกับคา H แตจะ
                                               210
                   แตกตางตรงที่ คา d จะหาปริมาณ  Pbex แคระดับความลึกที่มีการไถพรวนหนาดินเทานั้น ดวยเหตุนี้ จาก
                   ขอมูลงานวิจัยของ Walling and He (1999) ทําใหสรุปไดวา มวลดินที่มีระดับความลึกของชั้นไถพรวน 15
                                                2
                   เซนติเมตร จะมีคาเทากับ 195 kg/m
                          ดวยเหตุนี้ จากขอมูลที่กลาวมาขางตน สามารถแทนคาตามตัวแปรตาง ๆ ในสมการได ดังนี้

                                                           -R/H
                                      d(A)/dt = {1 – [Pγ (1 – e )]} [λ(A ref)] – [λ + (PR/d)]A(t)
                         d(A)/dt = {1 – [1×0.49 (1 – e -67.77/4 )]} [0.03114×3.251] – [0.03114 + (1×67.77/195)]A(t)
                                              d(A)/dt = (0.489×0.101) – (0.379)A(t)

                                                     d(A)/dt = (-0.327)A(t)

                          เพราะฉะนั้นการคํานวนหาอัตราการเคลื่อนยายของดิน (Soil redistribution rate, SRD) จึงสามารถ
                   หาไดโดยการนําคา -0.327 คูณกับ 210Pb inventories ของพื้นที่ศึกษาทั้งสามแหลง มีหนวยเปน ตัน ตอ เฮค
                   ตาร ตอ ป (t/ha/yr)
   90   91   92   93   94   95   96   97   98   99   100