Page 91 - การประเมินประสิทธิภาพของสระน้ำในไร่นาของเกษตรกรทั่วประเทศจากอิทธิพลจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่รุนแรง The Performance of Farm Pond Impactsof extreme Climate Change.
P. 91

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                           74
















                                                     ภาพที่ 48 รูปตัดตามยาว


                                      3) สระเก็บน้ าในร่องน้ าตื้น
                                           ในที่ซึ่งเนินเขาเตี้ยๆ 2  ลูกมาบรรจบกน ก็จะเกิดเป็นร่องน้ าเล็กๆ หรือร่องน้ า
                   ธรรมชาติขึ้น และเหมาะสมที่จะก่อสร้างสระเก็บน้ าหรือเขื่อนดิน ปริมาณการกักเก็บสอดคล้องกับปริมาณดิน

                   ขุดน้ าถูกกักเก็บในสระเก็บน้ าระหว่าง ดินขุดและคันดินถมโดยคันดินถมจะช่วยยกระดับเก็บกกให้สูงขึ้นเพื่อ
                   เพิ่มปริมาณการกักเก็บ























                                                  ภาพที่ 49 สระเก็บน ้าในร่องน ้าตื้น


                            เมื่อพิจารณาร่องน้ าตื้นๆ ส าหรับก่อสร้างสระเก็บน้ า สิ่งส าคัญที่สุดก็คือจะต้องแน่ใจว่า พื้นที่รับน้ าฝน
                   จะต้องไม่ใหญ่เกินไป (ไม่เกิน 300  ไร่) และต้องแน่ใจว่าน้ าไม่ไหลในร่องน้ านานกว่า 6  ชั่วโมงหลังฝนหยุดตก
                   สิ่งส าคัญอีกอย่างก็คือ ภูมิประเทศจะต้องเอื้ออ านวยที่จะก่อสร้างทางระบายน้ าส่วนเกินทิ้งได้ สถานที่ที่
                   คัดเลือกนี้ต้องให้ปริมาณการกักเก็บสูงสุด โดยขุดดินออกน้อยที่สุด คันดินถมควรสร้างขวางส่วนแคบที่สุดของ

                   ร่องน้ าธรรมชาติ เพื่อลดความยาวของคันดินถมและลดปริมาณงานดินขุดให้น้อยที่สุด ความลาดชันของร่อง
                   น้ าทางต้นน้ าของคันดินถมยิ่งต่ าเท่าใด น้ าที่ถูกกักเก็บโดยคันดินถมก็ยิ่งมีความยาวมากขึ้น
                   (ส านักพัฒนาพื้นที่ปฏิรูปที่ดิน, ม.ป.ป.)
   86   87   88   89   90   91   92   93   94   95   96