Page 40 - ต้นแบบอนุรักษ์ดินและน้ำจังหวัดเชียงใหม่ Soil and Water Conservation Model in Chiang Mai Province.
P. 40

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                           32

                   ผลการศึกษาปี 2563



                   ตารางที่ 16 ปริมาตรน้ำจากแปลงศึกษา ขนาด 4x22 เมตร (ตุลาคม 2562 – สิงหาคม 2563)


                                       ตุลาคม 2562 - มิถุนายน 2563   กรกฎาคม 2563          สิงหาคม 2563
                           แปลง
                                              ลูกบาศก์เมตร            ลูกบาศก์เมตร          ลูกบาศก์เมตร
                          1 (ป่าไม้)             0.50                     0.00                 0.84
                          2 (ข้าวไร่)            0.43                     0.54                 0.46

                          3 (พืชผัก)             0.91                     0.44                 1.08
                          4 (ป่าไม้)             0.00                     0.11                 0.87
                         5 (มะม่วง)              0.02                     0.80                 0.56

                          6 (พืชผัก)             0.60                     0.55                 0.54
































                          ภาพที่ 19 ปริมาตรน้ำจากแปลงศึกษา ขนาด 4x22 เมตร (ตุลาคม 2562 – สิงหาคม 2563)


                          2.2 วิธีปักหมุดเพื่อวัดการชะล้างพังทลายของดิน (Pin Technique)

                          การศึกษาการสูญเสียดินด้วยวิธีปักหมุดในแปลงศึกษาขนาด 4x22 เมตร เพื่อวัดการเคลื่อนย้าย
                   ของผิวหน้าดิน โดยวัดความสูงของดินที่เพิ่มขึ้นหรือหายไปจากหมุดที่ปักไว้จำนวน 30 จุดต่อแปลง แล้ว

                   นำมาประเมินการสูญเสียดินต่อพื้นที่ จากการศึกษาในพื้นที่ลุ่มน้ำแม่ปอยอันได้แก่พื้นที่ป่าเบญจพรรณ

                   (ECM01) ที่มีความลาดชัน 30-35 เปอร์เซ็นต์ พื้นที่แปลงไม้ผล (ECM02) ที่มีความลาดชัน 20-25
                   เปอร์เซ็นต์ และ พื้นที่แปลงพืชผัก (ECM03) ที่มีความลาดชัน 9-10 เปอร์เซ็นต์ ส่วนในพื้นที่ลุ่มน้ำห้วยลึก

                   อันได้แก่ พื้นที่ป่าเบญจพรรณ (ECM04) ที่มีความลาดชัน 30-35 เปอร์เซ็นต์ พื้นที่แปลงพืชไร่ (ECM05)
                   ที่มีความลาดชัน 20-25 เปอร์เซ็นต์ และ พื้นที่แปลงพืชผัก (ECM06) ที่มีความลาดชัน 9-10 เปอร์เซ็นต์

                   ซึ่งจะนำผลการศึกษาโดยวิธ๊ปักหมุดมาคำนวณเกลี่ยค่าการเปลี่ยนแปลงของผิวดินโดยใช้การวิเคราะห์

                   แบบ Terrain analysis ได้ผลการศึกษาดังตารางที่ 22 รูปที่ 25 26 27 และ 28
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45