Page 42 - ต้นแบบอนุรักษ์ดินและน้ำจังหวัดเชียงใหม่ Soil and Water Conservation Model in Chiang Mai Province.
P. 42

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                           34



                          ในปีการศึกษา 2559 จากการวิเคราะห์การสูญเสียด้วยวิธี Terrain analysis จะพบว่าในแปลงป่า

                   เบญจพรรณ(ECM01) จะเกิดการสะสมของตะกอนดินที่เคลื่อนย้ายจากด้านบนสู่ด้านล่างภายในแปลงเพิ่มขึ้น
                   0.87 ตันต่อไร่ต่อปี แปลงไม้ผล(ECM02) จะเกิดการสะสมของตะกอนดินที่เคลื่อนย้ายจากด้านบนสู่ด้านล่าง

                   ภายในแปลงเพิ่มขึ้น 0.82 ตันต่อไร่ต่อปี แปลงพืชผัก(ECM03) จะเกิดการสะสมของตะกอนดินที่เคลื่อนย้ายจาก

                   ด้านบนสู่ด้านล่างภายในแปลงเพิ่มขึ้น 0.39 ตันต่อไร่ต่อปี แปลงป่าเบญจพรรณ(ECM04) เกิดการสูญเสียตะกอน
                   ดินคิดเป็น 0.39 ตันต่อไร่ต่อปี แปลงพืชไร่(ECM05) เกิดการสูญเสียตะกอนดินคิดเป็น 1.44 ตันต่อไร่ต่อปี และ

                   แปลงพืชผัก(ECM06) เกิดการสูญเสียตะกอนดินคิดเป็น 1.30 ตันต่อไร่ต่อปี









                                          ECM01                                          ECM02
                                       Slope 30-35%                                   Slope 20-25%








                                          ECM03                                          ECM04
                                       Slope 9-10%                                    Slope 30-35%








                                           ECM05                                         ECM06
                                        Slope 20-25%                                   Slope 9-10%




                            ภาพที่ 20 การชะล้างพังทลายของดินในลุ่มน้ำ ในปีพ.ศ.2559 โดยวิธี Terrain analysis
   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47