Page 27 - การทำนายผลผลิตข้าวและข้าวโพดเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศที่รุนแรง บริเวณพื้นที่สูงลุ่มน้ำแม่แจ่ม Crop Yield Projection at Mae Cham Sub Basin under Extreme Climate Change.
P. 27

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                           17

                   ตารางที่ 1 ปริมาณธาตุอาหารในดินในพื้นที่ปลูกข้าวและข้าวโพดบริเวณลุ่มน้ าแม่แจ่ม

                                                                            ปริมาณธาตุอาหาร
                                ธาตุอาหารในดิน
                                                            ค่าต่ าสุด  ค่าสูงสุด  ค่าเฉลี่ย  มัธยฐาน  ฐานนิยม

                    อินทรียวัตถุในดิน (เปอร์เซ็นต์)           0.92      5.98      2.88      2.74      1.95
                    คาร์บอนในดิน (เปอร์เซ็นต์)                0.53      3.47      1.66      1.62      1.13

                    ไนโตรเจนทั้งหมด (เปอร์เซ็นต์)             0.05      0.57      0.15      0.14      0.10
                    ฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ (มิลลิกรัม/กิโลกรัม)   2.40   99.00   53.39    49.60     90.80

                    โพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ (มิลลิกรัม/กิโลกรัม)   3.00   159.90   120.13   126.95   128.00

                   ที่มา: จากการวิเคราะห์

                   ตารางที่ 2 ระดับความอุดมสมบูรณ์ของดินในพื้นที่ปลูกข้าวและข้าวโพดบริเวณลุ่มน้ าแม่แจ่ม

                     ธาตุอาหาร     หน่วย                       ระดับความอุดมสมบูรณ์ของดิน
                       ในดิน       พื้นที่   ต่ ามาก    ต่ า     ปานกลาง       สูง       สูงมาก      รวม

                     อินทรียวัตถุ   ไร่       -        2,202     353,274  1,438,153  660,746  2,454,375
                        ในดิน     ร้อยละ      -         0.09      14.39       58.60      26.92      100.00

                      คาร์บอน       ไร่       61       3,920     365,705  1,428,776  655,912  2,454,375
                        ในดิน     ร้อยละ    0.003       0.16      14.90       58.21      26.72      100.00

                      ไนโตรเจน      ไร่     72,221  2,313,438     68,716        -          -       2,454,375
                       ทั้งหมด    ร้อยละ     2.94      94.26       2.80         -          -        100.00

                     ฟอสฟอรัสที่    ไร่       98       15,469     51,883     439,295  1,947,629  2,454,375
                    เป็นประโยชน์  ร้อยละ    0.004       0.63       2.11       17.90      79.35      100.00

                    โพแทสเซียมที่   ไร่       -        1,639     144,031  1,032,514  1,276,191  2,454,375

                    เป็นประโยชน์  ร้อยละ      -         0.07       5.87       42.07      52.00      100.00
                   ที่มา: จากการวิเคราะห์


                          อย่างไรก็ตาม จะสังเกตได้ว่าพื้นที่บริเวณลุ่มน้ าแม่แจ่มมีระดับความอุดมสมบูรณ์ของดินอยู่ในช่วงสูง
                   ถึงสูงมาก โดยเฉพาะปริมาณอินทรียวัตถุ คาร์บอน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม อาจมีสาเหตุมาจากลักษณะ

                   การท าการเกษตรในพื้นที่ลุ่มน้ าแม่แจ่มมีการปลูกพืชหมุนเวียนส่งผลให้มีปริมาณอินทรียวัตถุและคาร์บอน
                   สะสมในดินสูงเนื่องจากการย่อยสลายของเศษพืช ในขณะที่การปลูกข้าวและข้าวโพดต้องพึ่งพาการใส่ปุ๋ยเคมี

                   เพื่อเพิ่มปริมาณธาตุอาหารอาจส่งผลให้ดินมีปริมาณของฟอสฟอรัสและโพแทสเซียมตกค้างในดินสูงได้
                   ในขณะที่ไนโตรเจนซึ่งปกติจะอยู่ในรูปของก๊าซเป็นส่วนใหญ่จึงสะสมในดินได้น้อย ส่งผลให้ระดับความอุดม

                   สมบูรณ์ของดินที่ประเมินด้วยปริมาณไนโตรเจนทั้งหมดอยู่ในระดับต่ า

                          ทั้งนี้ การประมวลผลด้วยโปรแกรมทางด้านสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อจัดท าแผนที่แสดงระดับความ
                   อุดมสมบูรณ์ของดิน จ าแนกตามธาตุอาหารในดินทั้ง 5 ธาตุ โดยพื้นที่ที่มีสีแดงเป็นพื้นที่ที่มีระดับความอุดม

                   สมบูรณ์ต่ ามาก และพื้นที่ที่มีสีเขียวเข้มเป็นพื้นที่ที่มีระดับความอุดมสมบูรณ์ของดินสูงมาก แสดงดังภาพที่ 10

                   ถึงภาพที่ 14
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32