Page 96 - ศึกษาผลกระทบจากการเผาเศษวัสดุทางเกษตรต่อการปลูกพืชเศรษฐกิจในพื้นที่ลุ่มน้ำแม่แจ่มและศึกษาการชะล้างพังทลายของดินด้วยแบบจำลองการสูญเสียดินสากล
P. 96

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                           82

                   คิดเป็นร้อยละ 16.80 6.65 และ 0.03 ตามล าดับ โดยพื้นที่ที่มีการชะล้างพังทลายในระดับรุนแรงมากนี้จะ

                   เกิดขึ้นในพื้นที่สูงมากกว่าในพื้นที่ราบ
                          ส าหรับผลการศึกษา สามารถประเมินพื้นที่ที่มีปัญหาการชะล้างพังทลายของดินได้ โดยพื้นที่ที่มี
                   ปัญหาการชะล้างพังทลายของดิน หมายถึง พื้นที่ที่มีระดับการชะล้างพังทลายในระดับความรุนแรงปานกลาง
                   ถึงรุนแรงมาก หรือระดับ 3 – 5 หรือมีอัตราการชะล้างพังทลายตั้งแต่ 5 ตันต่อไร่ต่อปีขึ้นไป พบว่า มีพื้นที่ที่มี

                   ปัญหาการชะล้างพังทลายของดินเฉลี่ย 731,287 ไร่ต่อปี คิดเป็นร้อยละ 26.05 หรือ 429,588 420,234 และ
                   1,067,030 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 17.50 17.12 และ 43.47 ตามล าดับ ซึ่งพื้นที่ดังกล่าวควรมีการวางแนวป้องกัน
                   การเกิดปัญหาการชะล้างพังทลายของดิน โดยการวางมาตรการอนุรักษ์ดินและน้ ารูปแบบต่าง ๆ ในพื้นที่
                   เพื่อลดระดับความรุนแรงของการชะล้างพังทลายของดิน ส าหรับการชะล้างพังทลายของดินบริเวณพื้นที่

                   ลุ่มน้ าแม่แจ่มปี 2561 – 2563 ดังแสดงในตารางที่ 46
   91   92   93   94   95   96   97   98   99   100   101