Page 23 - การคัดเลือกจุลินทรีย์ดินที่มีประสิทธิภาพควบคุมไส้เดือนฝอยรากปมในพืช Effective selection of microbial against root knot nematode
P. 23

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน






                              4. คัดเลือกจุลินทรีย์ที่มีประสิทธิภาพในการควบคุมไส้เดือนฝอย 5 ไอโซเลต ซึ่งพิจารณาจาก

                   เชื้อที่ผลิตเอนไซม์โปรติเอสมาจ าแนกชนิดด้วยเทคนิคทางชีวโมเลกุล โดยสกัดดีเอ็นเอ และน าส่งวิเคราะห์
                   ล าดับเบส ได้เชื้อจุลินทรีย์ที่มีประสิทธิภาพในการควบคุมไส้เดือนฝอย และไม่เป็นเชื้อก่อโรค ได้แก่

                   NW7-A3, NW9-A1, NT4-2 และ NT2-2
                              5. ความสูงของต้นมะเขือเทศหลังปลูก มีรายละเอียดดังนี้

                                 1) หลังปลูกมะเขือเทศ 30 และ 37 วัน พบว่า ต ารับที่ 2 มีความสูงมากที่สุด รองลงมาคือ
                   ต ารับที่ 6, 4, 3 และ 5 ส่วนต ารับที่ 1 มีความสูงน้อยที่สุด

                                 2) หลังปลูกมะเขือเทศ 44 วัน พบว่า ต ารับที่ 2 มีความสูงมากที่สุด รองลงมา ต ารับที่ 3, 6,

                   5 และ 4 ส่วนต ารับที่ 1 มีความสูงน้อยที่สุด
                                 3) หลังปลูกมะเขือเทศ 51 และ 58 วัน พบว่า ต ารับที่ 2  มีความสูงมากที่สุด รองลงมาคือ

                   ต ารับที่ 5, 3, 6 และ 4 ส่วนต ารับที่ 1 มีความสูงน้อยที่สุด


                                                         ข้อเสนอแนะ

                          ควรน าจุลินทรีย์ควบคุมไส้เดือนฝอยรากปมพืชที่คัดเลือกได้ไปทดสอบในพืชทดลองชนิดอื่นที่มี

                   การระบาด และเข้าท าลายของไส้เดือนฝอย ได้แก่ พริก มันฝรั่ง เป็นต้น เพื่อให้ทราบถึงประสิทธิภาพใน
                   การควบคุม


                                                    ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ

                              1. เป็นแนวทางในการจัดการไส้เดือนฝอยรากปมในพื้นที่ที่ปลูกมะเขือเทศ  จากการควบคม

                   โดยชีววิธีที่ปลอดภัยและสะดวกส าหรับเกษตรกรและผู้บริโภค
                              2.  ส่งเสริมการนน าเทคโนโลยีชีวภาพที่มีอยู่ในดินมาใช้ให้เกิดประโยชน์ในการเกษตรในพื้นที่

                   ระบาดของไส้เดือนฝอยรากปม
                              3.  ทราบต้นทุนเบื้องต้นในการจัดการโดยชีววิธี  เพื่อเป็นข้อมูลในการน าองค์ความรู้ที่ได้ไป

                   ประยุกต์ใช้ในพื้นที่ระบาดของไส้เดือนฝอยรากปมส าหรับเกษตรกร


                                                    การเผยแพร่ผลงานวิจัย

                            เมื่อผลการด าเนินการวิจัยสิ้นสุดจะได้จุลินทรีย์ที่มีประสิทธิภาพในการควบคุมไส้เดือนฝอยรากปม

                   ในพืช (มะเขือเทศ) ซึ่งมีคุณสมบัติเหมาะสมในการใช้ประโยชน์ได้ จัดท าแผ่นผับ คู่มือการส่งเสริม การจัด
                   นิทรรศการ รวมทั้งการถ่ายทอดเป็นเทคโนโลยีชีวภาพสู่เจ้าหน้าที่รัฐ เผยแพร่ผ่านเครือข่ายหมอดินอาสา กลุ่ม
                   เกษตรกร เครือข่ายเกษตรอินทรีย์ หน่วยภาครัฐและเอกชน ต่อไป
   18   19   20   21   22   23   24   25   26