Page 22 - การคัดเลือกจุลินทรีย์ดินที่มีประสิทธิภาพควบคุมไส้เดือนฝอยรากปมในพืช Effective selection of microbial against root knot nematode
P. 22

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน






                            3. หลังปลูกมะเขือเทศ 44 วัน พบว่า ต ารับที่ 2 มีความสูงมากที่สุด รองลงมาคือ ต ารับที่ 3, 6, 5

                   และ 4 ส่วนต ารับที่ 1 มีความสูงน้อยที่สุด
                            4. หลังปลูกมะเขือเทศ 51 วัน พบว่า ต ารับที่ 2 มีความสูงมากที่สุด รองลงมาคือ ต ารับที่ 5, 3, 6

                   และ 4 ส่วนต ารับที่ 1 มีความสูงน้อยที่สุด
                            5. หลังปลูกมะเขือเทศ 58 วัน พบว่า ต ารับที่ 2 มีความสูงมากที่สุด รองลงมาคือ ต ารับที่ 5, 3, 6

                   และ 4 ส่วนต ารับที่ 1 มีความสูงน้อยที่สุด


                                  100.00


                                   80.00


                                 ความสูง (ซม.)   60.00

                                   40.00
                                   20.00


                                    0.00

                                              30         37          44          51         58
                                                         อายุ (วัน) หลังปลูก

                                                  T1      T2     T3      T4      T5     T6




                   กราฟที่ 1 ประสิทธิภาพของเชื้อแบคทีเรียต่อการควบคุมโรครากปมของมะเขือเทศหลังจากปลูก 30, 37, 44,
                            51 และ 58 วัน โดยวัดความสูงของต้นมะเขือเทศ


                                                      สรุปผลการทดลอง

                              1. ตัวอย่างดินที่เก็บในภาคสนามจากแต่ละภูมิภาคดังกล่าวในการทดลองที่ 1 สามารถแยก

                   จุลินทรีย์ ได้แก่ เชื้อรา 4 ไอโซเลต และแบคทีเรีย 101 ไอโซเลต
                              2. ขนาด colony clear zone และค่า SE ของแบคทีเรียในอาหาร SM ให้ผลดีกว่าขนาด

                   colony clear zone และค่า SE ของแบคทีเรียในอาหาร Chitin agar

                              3.  การทดสอบการควบคุมไส้เดือนฝอย โดยเชื้อที่ผลิตเอนไซม์โปรติเอส ตอบสนองต่อการ
                   ควบคุมโรครากปมได้ดีกว่าเชื้อที่ผลิตเอนไซม์ไคติเนส  ซึ่งเชื้อที่ผลิตเอนไซม์โปรติเอสตอบสนองต่อการ

                   ควบคุมโรครากปมได้ถึง 58  ไอโซเลต และส่วนใหญ่มีประสิทธิภาพในการควบคุมไส้เดือนฝอยรากปมได้

                   มากกว่า 60  เปอร์เซ็นต์ ขณะที่เชื้อที่ผลิตเอนไซม์ไคติเนสตอบสนองต่อการควบคุมโรครากปมได้เพียง
                   3 ไอโซเลต และมีประสิทธิภาพในการควบคุมไส้เดือนฝอยรากปมได้ไม่เกิน 60 เปอร์เซ็นต์
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26