Page 24 - การศึกษาการผลิตถ่านชีวภาพและทดลองใช้ปรับปรุงดินสำหรับการปลูกพืชสมุนไพรฟ้าทะลายโจรในระบบเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม Study of Biochar Production and Sol Amendment Trial for Andrographis Herb in Participatory Guarantee Systems far Organic Agriculture
P. 24

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                          17




                  แมลงรบกวนมากกว่า ผลผลิตที่มีคุณภาพด้านโภชนาการและด้านปราสาทสัมผัสต่ำกว่าและมีความเสี่ยงต่อการ
                  ทำให้เกิดมลพิษมากกว่า

                         การใช้ถ่านชีวภาพควรใช้วัสดุการเกษตรในพื้นที่และผลิตเองโดยใช้เตาที่ทำขึ้น แม้จะได้ปริมาณไม่มาก
                  ก็สามารถทำได้ต่อเนื่องและเป็นการศึกษาเรียนรู้และประหยัดค่าใช้จ่าย นอกจากนี้การใช้ถ่านชีวภาพอย่าง

                  เดียวจะมีฝุ่นจากถ่าน การใช้ร่วมกับปุ๋ยอินทรีย์หรือน้ำหมักชีวภาพช่วยแก้ปัญหาฝุ่นถ่านได้และช่วยเพิ่ม

                  ประสิทธิภาพในการปรับปรุงดินได้ด้วย (สมชายและปัทมา, 2561; Yuan et al., 2011)
                         มองในแง่ความคุ้มทุน การปลูกพืชสมุนไพรฟ้าทะลายโจรในระบบเกษตรอินทรีย์ได้ผลผลิตไม่มาก แต่

                  จะมีปริมาณสารแอนโดรกราโฟไลด์สูงกว่า จะได้ราคาสูงตามเปอร์เซ็นต์ของปริมาณสารแอนโดรกราโฟไลด์ที่

                  เพิ่มขึ้น


                                                        ประโยชน์ที่ได้รับ

                         12.1 เกษตรกรสามารถใช้เป็นต้นแบบในการผลิตถ่านชีวภาพเพื่อใช้ปรับปรุงดินในการปลูกพืชระบบ
                  เกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วมได้

                         12.2 คุณภาพของดินในพื้นที่เกษตรกรได้รับการปรับปรุงให้ดีขึ้น
                         12.3 แก้ปัญหาขยะจากวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรในพื้นที่และชุมชน



                                                         เอกสารอ้างอิง


                  กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์. 2562. ฟ้าทะลาย : Thai Herbal Pharmacopoeia 2019 volume I :
                            Department of Medical Sciences. Ministry of Public Health. 112-123.

                  กองสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน. 2558. รายงานสำรวจดินจังหวัดนครสวรรค์. กรมพัฒนาที่ดิน. กรุงเทพฯ.

                  คณาจารย์ภาควิชาปฐพีวิทยา. 2526. ปฐพีวิทยาเบื้องต้น. คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
                            สำนักพิมพ์สวิตา. กรุงเทพฯ. 673 หน้า.

                  จันจิรา แสงสีเหลือง, นวลจันทร์ ชะบา และวุฒิชัย จันทรสมบัติ. 2560. ศึกษาการเพิ่มประสิทธิภาพปุ๋ยชีวภาพ

                            พด.12 ด้วยถ่านไบโอชาร์ต่อการเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ของดินและผลผลิตพืช. กอง
                            เทคโนโลยีชีวภาพทางดิน กรมพัฒนาที่ดิน. กรุงเทพฯ.

                  จาวภา มะนาวกอก, สันติไมตรี ก้อนคำดี, เกษสุดา เดชภิมล, วรรณวิภา แก้วประดิษฐ์ พลพินิจ และดรุณี
                            โชติษฐยางกูร. 2560. ถ่านชีวภาพ: ผลต่อคุณสมบัติของดินและการเจริญเติบโตของข้าวนาหว่าน

                            น้ำตม(การทดสอบในสภาพกระถาง). แก่นเกษตร. 45 (2) : 209-220.

                  ดาวยศ นิลนนท์ และ วิชัย แป้นอ้อย. 2560. การใช้ถ่านไบโอชาร์ปรับปรุงดินเพื่อผลิตผักระบบปลอดสารพิษ

                            และการกักเก็บคาร์บอนในดิน. สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 10 กรมพัฒนาที่ดิน. กรุงเทพฯ.
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29