Page 17 - รายงานประจำปี 2563 ศูนย์ศึกษาการพัฒนาเขาหินซ้อนอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
P. 17

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน





            แนวทางการด�าเนินงาน





                  พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานแนวทางการด�าเนินงานให้แก่
            ศูนย์ศึกษาการพัฒนา อันเนื่องมาจากพระราชด�าริ ดังนี้



                  1) ท�าการศึกษา ค้นคว้า ทดลอง วิจัย

            เพื่อแสวงหาแนวทางและวิธีการพัฒนาทางด้านต่างๆ ให้
            เหมาะสมสอดคล้องกับสภาพแวดล้อมที่แตกต่างกัน
            ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชด�าริ
            จึงเปรียบเสมือน “ต้นแบบ” ของความส�าเร็จที่จะเป็น

            แนวทางและตัวอย่างให้แก่พื้นที่อื่นๆ ได้ท�าการศึกษา
                  2) มีการแลกเปลี่ยนสื่อสารระหว่างนัก
            วิชาการ นักพัฒนาส่งเสริม และเกษตรกร
            การศึกษา ค้นคว้า ทดลอง วิจัยต่างๆ ที่ได้ผล

            แล้ว ให้สามารถน�าไปใช้ประโยชน์ได้จริงในพื้นที่ ศูนย์    5) เป็นศูนย์บริการแบบเบ็ดเสร็จ มีการ
            ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชด�าริ จึงเป็น    ศึกษา ทดลองและสาธิตให้เห็นถึงความส�าเร็จของการ
            แหล่งผสมผสานวิชาการและปฏิบัติการ เป็นแหล่งศึกษา   ด�าเนินงานพร้อมกันในทุกด้าน ทั้งด้านการฟื้นฟูสภาพป่า
            ทดลองของนักวิชาการ เป็นแหล่งแลกเปลี่ยนถ่ายทอด     การพัฒนาที่ดิน การเพาะปลูกพืช การปศุสัตว์ ประมง

            ประสบการณ์ความรู้ของนักพัฒนาส่งเสริม และเป็น      ตลอดจนการพัฒนาทางด้านสังคมและงานศิลป
            แหล่งเรียนรู้เพื่อปฏิบัติเป็นอาชีพของเกษตรกร      หัตถกรรมพื้นบ้าน ดังพระราชด�ารัสให้ศูนย์ศึกษาการ
                  3) มีการบริหารจัดการที่เป็นระบบ เน้นการ     พัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชด�าริท�าหน้าที่เสมือน
            พัฒนาแบบผสมผสาน อยู่บนหลักการและพื้นฐานของ        “พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติที่มีชีวิต” (Living Natural Museum)

            การพึ่งพาตนเองตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง         เป็นการให้บริการ ณ จุดเดียว หรือศูนย์รวมการพัฒนา
            ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชด�าริ เป็น  แบบเบ็ดเสร็จ (One stop service) โดยการเป็นศูนย์ฝึก
            ตัวอย่างที่ดีของแนวความคิดแบบสหวิทยาการ ซึ่งก่อให้  อบรมหรือศูนย์เรียนรู้ด้านเกษตรกรรมครบวงจร
            เกิดประโยชน์สูงสุดในพื้นที่ จัดเป็นแบบจ�าลองของพื้นที่  ซึ่งเกษตรกรและผู้เยี่ยมชมสามารถน�าความรู้ที่ได้รับไป

            และรูปแบบการพัฒนาที่ควรจะเป็นให้เป็นตัวอย่างว่าใน  ใช้ในการประกอบอาชีพการเกษตร และด้านศิลป
            พื้นที่ลักษณะหนึ่งๆ นั้น จะสามารถใช้ประโยชน์อย่างเต็ม  หัตถกรรมพื้นบ้าน เพื่อพัฒนาชีวิตและความเป็นอยู่ให้ดีขึ้น
            ที่ได้โดยวิธีใดบ้าง มิใช่การพัฒนาเฉพาะทางใดทางหนึ่ง     ศูนย์ศึกษาการพัฒนาเขาหินซ้อนอันเนื่องมา
            ให้พยายามใช้ความรู้มากสาขา และแต่ละสาขาให้        จากพระราชด�าริ ยังเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงพัฒนา

            ประโยชน์เกื้อหนุนกับการพัฒนาสาขาอื่น              (Development Tourism) ให้นักท่องเที่ยวและประชาชน
                  4) การประสานงานระหว่างส่วนราชการ            ที่อาศัยอยู่ในบริเวณใกล้เคียงได้เข้ามาท่องเที่ยวพักผ่อน
            แบบบูรณาการ  จัดเป็นแนวทางและวัตถุประสงค์         หย่อนใจ ซึ่งนอกจากจะได้รับความเพลิดเพลินแล้วยังได้
            ส�าคัญยิ่ง ประการหนึ่ง แนวทางการด�าเนินงานของศูนย์  เรียนรู้เรื่องการเกษตรและศิลปหัตถกรรมพื้นบ้าน ช่วย

            ศึกษาการ พัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชด�าริ เน้นการ   กระตุ้นจิตส�านึกของคนในชาติให้ตระหนักถึงการเป็น
            ประสานงาน การประสานแผน และการบริหารจัดการ         สถานศึกษาพื้นฐานวิถีชีวิตมนุษย์กับธรรมชาติได้เป็น
            ระหว่างกรม กองและส่วนราชการต่างๆ ให้เกิดเป็นจริงขึ้น   อย่างดี



                                                                                 รายงานประจ�าปี 2563  15
                                            ศูนย์ศึกษาการพัฒนาเขาหินซ้อนอันเนื่องมาจากพระราชด�าริ
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22