Page 33 - เทคโนโลยีการพัฒนาที่ดินสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน OVERVIEW of TECHNOLOGIES and APPROACHES for SUSTAINABLE DEVELOPMENT
P. 33

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน













                                                                                           ประภา ธารเนตร และศรัณย์นพ อินทเสน
                                                                                          กองวิจัยและพัฒนาการจัดการที่ดิน



                                          “..ให้มีการทดลองท าดินให้เปรี้ยวจัด โดยการระบายน ้าให้แห้งและศึกษาวิธีการแก้ดิน

                                          เปรี้ยว เพื่อน าผลไปแก้ปัญหาดินเปรี้ยวให้แก่ราษฎรที่มีปัญหาในเรื่องนี้ในเขตจังหวัด
                                          นราธิวาส  โดยให้ท าโครงการศึกษาทดลองในก าหนด 2 ปี และพืชที่ท าการทดลอง

                                          ปลูกควรเป็นข้าว...”



                                           พระราชด าริพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร

                                                                                            วันที่ 16 กันยายน 2527





       ในปี พ.ศ. 2524 พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดช

       มหาราช บรมนาถบพิตรมีพระราชด าริให้หน่วยงานต่างๆ
       ที่เกี่ยวข้องมาด าเนินการศึกษาและพัฒนาพื้นที่พรุเพื่อ

       ปัญหาความเป็นกรดของดิน และในปี พ.ศ. 2527 ทรง
       ริเริ่มโครงการ “แกล้งดิน” เพื่อแก้ปัญหาดินเปรี้ยวจัดให้

       สามารถน ามาใช้ประโยชน์ทางการเกษตรได้ จึงมี

       พระราชด าริมอบหมายให้ กรมพัฒนาที่ดิน และศูนย์ศึกษา
       การพัฒนาพิกุลทองอันเนื่องมาจากพระราชด าริ จังหวัด

       นราธิวาส ศึกษาแนวทางการจัดการดินที่เหมาะสมส าหรับ
       การผลิตทางการเกษตรในพื้นที่ดินเปรี้ยวจัด               ศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทองอันเนื่องมาจากพระราชด าริ จังหวัดนราธิวาส





                                                     การ ‘แกล้งดิน’ เป็นการท าให้ดินแห้งและเปียกสลับกันไป โดยการ

                                                     ขังน้ าไว้ในพื้นที่จนกระทั่งเกิดปฏิกิริยาเคมีที่ท าให้ดินเปรี้ยวจัดจนถึง
                                                     ที่สุด แล้วจึงระบายน้ าออก ท าสลับกันไปต่อเนื่องหลายครั้งในรอบปี

                                                     ทั้งนี้ เพื่อเป็นการจ าลองสภาพฤดูแล้งและฤดูฝนและเร่งกระบวนการ
                                                     ออกซิเดชันของสารไพไรท์ในดินให้ถึงจุดที่ดินมีสภาพเป็นกรดสูงที่สุด

                                                     จากนั้น จึงท าการปรับปสภาพดินด้วยวัสดุปูน จนกระทั่งดินมีสภาพดี

                                                     พอส าหรับใช้ในการเพาะปลูกได้






                                                                                                                28
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38