Page 56 - แผนที่ความเหมาะสมของที่ดินสำหรับการปลูกพืชสมุนไพร กระชายเหลือง กระวาน ข่า ขิง คำฝอย ตะไคร้ พริกไทย ฟ้าทะลายโจร และว่านชักมดลูก
P. 56

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                           3-14





                  จึงสามารถแสดงรายละเอียดของความต้องการคุณภาพที่ดินในแต่ละกลุ่มสําหรับการผลิตพืชสมุนไพร

                  ดังตารางที่ 3-3

                  ตารางที่ 3-3 ความต้องการคุณภาพที่ดินในแต่ละกลุ่มสําหรับพืชสมุนไพร


                                                    A. Crop Requirements
                  1. Radiation regime                         - Radiation

                  2. Temperature regime                       - Temperature

                  3. Moisture availability                    - Moisture
                  4. Oxygen availability                      - Oxygen, soil drainage

                  5. Nutrient availability                    - Nutrient availability

                  6. Nutrient retention                       - Cation exchange capacity and Base saturation
                  7. Rooting condition                        - Effective soil depth

                  8. Flood hazard                             - Frequency

                  9. Excess of salts                          - Salinity
                  10. Soil toxicities                         - Jarosite depth

                                                              - Al & Fe (ppm)

                                                B. Management Requirements

                  11. Soil workability
                  12. Potential for mechanization


                                                C. Conservation Requirements
                  13. Erosion hazard



                  3.5  การจําแนกชั้นความเหมาะสมของที่ดิน (Land Suitability Classification) สําหรับ

                  พืชสมุนไพร


                            ใช้หลักการจําแนกชั้นความเหมาะสมของที่ดินของ FAO  Framework  ปี1983   ซึ่งได้

                  จําแนกอันดับความเหมาะสมของที่ดินออกเป็น 2 อันดับ (Order)  คือ อันดับที่เหมาะสม  (Order  S,
                  suitability)  และอันดับที่ไม่เหมาะสม (Order  N,  not  suitability) และจาก 2 อันดับนี้ได้แบ่งย่อย

                  ออกเป็น 4 ชั้น (Class) ดังตารางที่ 3-5

                             S1  หมายถึง ชั้นที่มีความเหมาะสมสูงสําหรับพืชสมุนไพร (Highly suitable)
                             S2  หมายถึง ชั้นที่มีความเหมาะสมปานกลางสําหรับพืชสมุนไพร (Moderately suitable)




                  แผนที่ความเหมาะสมของที่ดินสําหรับการปลูกพืชสมุนไพร
                  กระชายเหลือง กระวาน ข่า ขิง คําฝอย ตะไคร้ บุก พริกไทย ฟ้าทะลายโจร และว่านชักมดลูก   กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน
   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61