Page 48 - แผนบริหารจัดการโครงการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำโดมใหญ่ อำเภอเดชอุดม จังหวัดอุบลราชธานี
P. 48

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                             33




































                   ภาพที่ 3-3  สมดุลของน้ าเพื่อการเกษตร จังหวัดอุบลราชธานี





                         จากการศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลทรัพยากรดินในระดับชุดดิน มาตราส่วน 1:25,000 (กองส ารวจ
                   ดินและวิจัยทรัพยากรดิน, 2561) พื้นที่ลุ่มน้ าห้วยต าแย อ าเภอเดชอุดม จังหวัดอุบลราชธานี ซึ่งมีเนื้อที่

                   ครอบคลุม 120,032 ไร่ สามารถจ าแนกเป็นหน่วยแผนที่ดินได้ 21 หน่วยแผนที่ ประกอบด้วย ชุดดิน 13

                   ชุดดิน (15 หน่วยแผนที่) หรือร้อยละ 37.20 ของเนื้อที่ลุ่มน้ า ดินคล้าย 4 หน่วย (5 หน่วยแผนที่) หรือร้อย
                   ละ 38.07 ของเนื้อที่ลุ่มน้ า หน่วยดินเชิงซ้อน 1 หน่วยแผนที่ หรือร้อยละ 9.63 ของเนื้อที่ลุ่มน้ า พื้นที่ชุมชน

                   และสิ่งปลูกสร้าง (U) 1 หน่วยแผนที่ หรือร้อยละ 12.56 ของเนื้อที่ลุ่มน้ า และพื้นที่น้ า (W) 1 หน่วยแผนที่ หรือ
                   ร้อยละ 2.54 ของเนื้อที่ลุ่มน้ า เมื่อพิจารณาการกระจายตัวของดิน จะเห็นว่า ชุดที่มีการกระจายตัวมากที่สุด

                   คือชุดดินโพนพิสัย (Pp) และดินคล้ายโพนพิสัย (Pp varients) มีเนื้อที่รวมร้อยละ 22.63 ของเนื้อที่ลุ่มน้ า

                   กระจายครอบคลุมในพื้นที่ต าบลนาเจริญ ต าบลสมสะอาด และต าบลท่าโพธิ์ศรี ลักษณะของดินเป็นดินตื้น
                   ถึงชั้นกรวดลูกรัง ดินบนเป็นดินร่วนปนทรายหรือดินร่วน สีน้ าตาลปนเทาเข้ม ดินล่างเป็นดินร่วนเหนียว

                   ปนทรายหรือดินร่วนเหนียว ปนลูกรัง มีสีน้ าตาลหรือน้ าตาลแก่ พบในพื้นที่ที่มีลักษณะเกือบราบหรือที่

                   เกือบราบ (peneplain) นอกจากนี้ยังการกระจายตัวของชุดดินค าบง (Kg) ชุดดินปักธงชัย (Ptc) และชุด
                   ดินร้อยเอ็ด (Re) มีเนื้อที่ร้อยละ 15.57 15.38 และ 9.86 ตามล าดับ ส่วนใหญ่ พบกระจายตัวในพื้นที่

                   ต าบลท่าโพธิ์ศรี ต าบลกลาง และต าบลโพนงาม ดินมีลักษณะเป็นดินลึกถึงดินลึกมาก มีเนื้อดินเป็นดินร่วน

                   ปนทราย หรือดินทรายปนดินร่วน พบในพื้นที่ที่มีลักษณะเกือบราบหรือที่เกือบราบ (peneplain) จาก
                   ลักษณะของดินท าให้ยากต่อการปรับปรุงบ ารุงดิน และปรับปรุงโครงสร้างของดิน ดินมีการชะล้างพังทลายของ

                   ดินได้ง่ายเพราะขาดการเกาะยึดกันของดิน ท าให้แหล่งน้ าในพื้นที่เกิดการตื้นเขินได้ง่ายจากทราย ควรมี
   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53