Page 47 - แผนบริหารจัดการโครงการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำโดมใหญ่ อำเภอเดชอุดม จังหวัดอุบลราชธานี
P. 47

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                          32



                     2) ปริมาณน้ าฝน มีปริมาณน้ าฝนรวมทั้งปี 1,620.2 มิลลิเมตร วันฝนตกเฉลี่ย 124 วัน เดือน

               กันยายนจะมีปริมาณน้ าฝนเฉลี่ยมากที่สุด 299.0 มิลลิเมตร และเดือนมกราคมจะมีปริมาณน้ าฝนเฉลี่ย
               น้อยที่สุด 3.6 มิลลิเมตร

                     3) ความชื้นสัมพัทธ์ มีความชื้นสัมพัทธ์เฉลี่ยทั้งปี 72 เปอร์เซ็นต์ เดือนกันยายนจะมีความชื้น

               สัมพัทธ์เฉลี่ยสูงสุด 82 เปอร์เซ็นต์ ส่วนเดือนกุมภาพันธ์และมีนาคม จะมีความชื้นสัมพัทธ์เฉลี่ยต่ าสุด 63
               เปอร์เซ็นต์

                     4) ศักยภาพการคายระเหยน้ า ศักยภาพการคายระเหยน้ าเฉลี่ยรวมตลอดป       มิลลิเมตร โดย
               ศักยภาพการคายระเหยน้ าเฉลี่ยสูงสุดเดือนเมษายน 165.9 มิลลิเมตร และศักยภาพการคายน้ าเฉลี่ยต่ าสุด

               เดือนกันยายน 112.5 มิลลิเมตร

                     5) สมดุลน้ าเพื่อการเกษตร
                     จากข้อมูลสถิติสภาพภูมิอากาศ ของจังหวัดอุบลราชธานี เฉลี่ยในรอบ 30 ปี (ปี พ.ศ. 2531-2560)

               (กรมอุตุนิยมวิทยา, 2560) โดยใช้ข้อมูลเกี่ยวกับปริมาณน้ าฝนรายเดือนเฉลี่ย และค่าศักยภาพการคาย
               ระเหยน้ าของพืชรายเดือนเฉลี่ย (Evapotranspiration: ETo ) คือ การคายระเหยน้ า ในสภาพดิน มี

               ความชื้นเพียงพอที่จะให้พืชน าไปใช้ได้ตลอดเวลา ซึ่งค านวณโดยใช้โปรแกรม Cropwat ตามสูตรของ

               Penman-Monteith และ 0.5 ของค่าศักยภาพการคายระเหยน้ า มาวิเคราะห์สภาพสมดุลของน้ าเพื่อ
               การเกษตร สามารถสรุปได้ดังนี้ (ภาพที่ 3)

                       5.1) ช่วงฤดูกาลเพาะปลูก เริ่มตั้งแต่กลางเดือนเมษายน (ปริมาณน้ าฝนสูงกว่าครึ่งหนึ่งของ

               ศักยภาพการคายระเหยน้ า) จนกระทั่งถึงปลายเดือนตุลาคม (ปริมาณน้ าฝนต่ ากว่าครึ่งหนึ่งของศักยภาพ
               การคายระเหยน้ า) และชวงระหว่างต้นเดือนพฤษภาคมถึงกลางเดือนตุลาคมจะมีฝนตกมากจนท าใหมี

               ปริมาณน้ ามากเกินพอความตองการของพืช (ปริมาณน้ าฝนสูงกวาศักยภาพการคายระเหยน้ า)
                       5.2) ช่วงระยะเวลาที่เหมาะสมในการเพาะปลูก ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่ความชื้นในดินและปริมาณ

               น้ าฝนเพียงพอส าหรับการเจริญเติบโตของพืชจะอยู่ในช่วงตั้งแต่กลางเดือนเมษายนถึงต้นเดือนพฤศจิกายน

                       5.3) ช่วงเวลาที่ไม่เหมาะสมต่อการเพาะปลูก คือ กลางเดือนพฤศจิกายนถึงต้นเดือนเมษายน

               เนื่องจากความชื้นในดินลดลง และปริมาณฝนตกน้อยกรณีที่ต้องปลูกพืชในชวงนี้ จะเสี่ยงการขาดแคลนน้ า

               พืชที่จะปลูกควรเลือกพืชที่ใช้น้ าน้อย ทนแล้ง และควรมีแหล่งน้ าส ารอง
   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52