Page 27 - แผนบริหารจัดการโครงการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำโดมใหญ่ อำเภอเดชอุดม จังหวัดอุบลราชธานี
P. 27

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                             15



                   ข้อมูลภาพช่วงคลื่นเดียวหรือภาพขาว-ด า ที่มีรายละเอียดจุดภาพ 2 เมตร ซึ่งเทคนิคนี้หรือที่

                   เรียกว่า Pansharpening method จะท าให้ข้อมูลภาพสีมีรายละเอียดจุดภาพเพิ่มขึ้นเท่ากับ 2 เมตร
                                    - การผลิตภาพข้อมูลดาวเทียม LANDSAT 8 OLI จะใช้เทคนิคผสมสีเท็จ (false

                   color composite) โดยช่วงคลื่นอินฟราเรดใกล้ Near Infrared (NIR) (0.85 - 0.88 ไมครอน) ผ่านตัวกรองสี

                   แดง ช่วงคลื่นอินฟราเรดคลื่นสั้น1 (Short Wave Infrared1: SWIR1) (1.57 - 1.65 ไมครอน) ผ่านตัว
                   กรองสีเขียว และช่วงคลื่นสีแดง (0.64 - 0.67 ไมครอน) ผ่านตัวกรองสีน ้าเงิน เพื่อใช้ในการจ าแนกพืช

                   พรรณ
                                2.2) การวิเคราะห์ข้อมูลสภาพการใช้ที่ดินจากข้อมูลดาวเทียม และภาพถ่ายออร์โธสีเชิงเลข

                   โดยพิจารณาจากองค์ประกอบของข้อมูล คือ ความเข้มของสีและสี (tone/color) ขนาด (size) รูปร่าง

                   (shape) เนื้อภาพ (texture) รูปแบบ (pattern) ความสูงและเงา (height and shadow) ความ
                   เกี่ยวพัน (association) และการเปลี่ยนแปลงตามฤดูกาล (temporal change) เพื่อวิเคราะห์ข้อมูลสภาพ

                   การใช้ที่ดิน โดยใช้โปรแกรมวิเคราะห์ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์แล้ว จึงน าชั้นข้อมูลที่ได้ท าการ
                   วิเคราะห์ซ้อนทับกับภาพถ่ายออร์โธสีเชิงเลข และข้อมูลจากดาวเทียมไทยโชต เพื่อจัดพิมพ์เป็นแผนที่

                   ส าหรับการส ารวจและตรวจสอบข้อมูลในภาคสนาม

                              3) การส ารวจข้อมูลในภาคสนาม โดยส ารวจและตรวจสอบรายละเอียดสภาพการใช้ที่ดินใน
                   พื้นที่จริง พร้อมทั้งแก้ไขรายละเอียดให้มีความถูกต้องตรงกับสภาพปัจจุบัน

                              4) การสร้างฐานข้อมูลสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS database) เป็นการจัดท าทั้งฐานข้อมูลเชิง

                   พื้นที่ (spatial data) และฐานข้อมูลเชิงคุณลักษณะ (attribute data) ของข้อมูลจากภาคสนามและ
                   ข้อมูลแผนที่จากส่วนที่เกี่ยวข้อง โดยน าเข้าและประมวลผลในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ดังนี้

                                4.1) การสร้างฐานข้อมูลเชิงพื้นที่ เป็นการน าเข้าข้อมูลในรูปแผนที่เชิงเลขเพื่อใช้วิเคราะห์
                   และประมวลผลเชิงพื้นที่

                                4.2) การสร้างฐานข้อมูลเชิงคุณลักษณะ เป็นการน าเข้าข้อมูลด้าน คุณลักษณะของแผนที่

                   และข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลเชิงพื้นที่ เพื่อท าให้ทราบถึงความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล ทั้ง 2 ประเภท
                   ส าหรับใช้ในการวิเคราะห์และประมวลผลในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์

                              5) การจัดท าแผนที่และฐานข้อมูล สภาพการใช้ที่ดินของเนื้อที่ลุ่มน้ า ห้วยต าแย อ าเภอเดช
                   อุดม จังหวัดอุบลราชธานี พ.ศ. 2562





                             การส ารวจเก็บรวบรวบข้อมูลสภาวะเศรษฐกิจและสังคมเพื่อประกอบการจัดท าแผนการใช้

                   ที่ดินและแผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและความเสื่อมโทรมของดินด้วยระบบ
                   อนุรักษ์ดินและน้ า โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นเกษตรกรที่ปลูกพืชเศรษฐกิจส าคัญของพื้นที่ ได้แก่ ข้าว มัน

                   ส าปะหลัง ยางพารา ปาล์มน้ ามัน ยูคาลิปตัส และมะม่วงหิมพานต์ มีขั้นตอนการด าเนินงาน ดังนี้
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32