Page 93 - แผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำคลองกุย อำเภอกุยบุรี และอำเภอสามร้อยยอด จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
P. 93

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                          77



               ที่ดินเพื่อการปลูกสับปะรด และยางพารา ในสภาพพื้นที่มีความลาดชันมากกว่า 50 เปอร์เซ็นต์ มี

               ข้อเสนอแนะในการใช้พื้นที่เขตฟื้นฟูสภาพพื้นที่เกษตรกรรม เพื่อการรักษาระบบนิเวศต้นน้ า ดังนี้

                       - ภาครัฐควรก าหนดเป้าหมายในการควบคุมการใช้พื้นที่ในเขตดังกล่าวรวมถึงรณรงค์ให้มีการใช้

               ประโยชน์ที่ดินเพื่อการปลูกป่าหรือระบบวนเกษตร และส่งเสริมมาตรการอนุรักษ์ดินและน้ าที่เหมาะสมกับ
               สภาพพื้นที่

                       - ส่งเสริมให้มีการใช้ปุ๋ยและสารปราบศัตรูพืชที่เป็นชีวภาพทดแทนการใช้สารเคมีเนื่องจาก

               สารเคมีจะตกค้างในดินและแหล่งน้ า และจะส่งผลต่อระบบนิเวศของพื้นที่ปลายน้ า



                                            มีเนื้อที่ประมาณ 2,293 ไร่ หรือร้อยละ 0.69 ของเนื้อที่ลุ่มน้ า พื้นที่เขต

               นี้มีการใช้ที่ดินเพื่อการปลูกสับปะรด ในสภาพพื้นที่มีความลาดชัน 20-35 เปอร์เซ็นต์ หรือบริเวณที่มีการ
               ปลูกยางพารา และมะม่วง ในสภาพพื้นที่มีความลาดชัน 35-50 เปอร์เซ็นต์ มีข้อเสนอแนะในการใช้พื้นที่

               เขตพื้นที่เกษตรกรรมที่ต้องเร่งรัดด าเนินการจัดท าระบบอนุรักษ์ดินและน้ า ดังนี้

                         - ในบริเวณพื้นที่มีความลาดชันสูง และเสี่ยงต่อการชะล้างพังทลาย ควรจัดท าระบบอนุรักษ์ดิน

               และน้ า เช่น การปลูกไม้ยืนต้นร่วมกับหญ้าแฝกขวางความลาดเทบนแนวคันดิน ท าอาคารชะลอความเร็วน้ า

               ร่วมกับการใช้หญ้าแฝก ฝายชะลอน้ า คันดินเบนน้ า คูรับน้ ารอบขอบเขา เพื่อป้องกันการชะล้างพังทลาย
               ของดิน และช่วยเก็บความชื้นไว้ในดิน รวมทั้งมีการจัดระบบการปลูกพืชให้เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ และ

               บ ารุงดินด้วยปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอก เพื่อเพิ่มอินทรียวัตถุให้ดิน

                         - ในกรณีที่เป็นดินดีหรือดินลึก ควรท าเป็นคันดินส าหรับปลูกพืชล้มลุกที่มีมูลค่าทางเศรษฐกิจ
               สูง หรือถ้ามีการปลูกไม้ยืนต้นควรปลูกพืชคลุมดินร่วมด้วย

                         - ในกรณีที่เป็นดินตื้นไม่ควรปลูกพืชไร่หรือพืชล้มลุก ควรปลูกไม้ยืนต้นขวางความลาดเทของ
               พื้นที่ และปลูกพืชคลุมดินระหว่างต้นพืช และควรท าคันคูรอบเขาเพื่อระบายน้ า ในกรณีที่ปลูกไม้ยืนต้นและ

               ต้องการปลูกพืชแซมระหว่างแถวก่อนไม้ยืนต้นโตนั้นไม่ควรมีการไถพรวน เนื่องจากพื้นที่มีความลาดชันสูง

               ท าให้เกิดการสูญเสียหน้าดินได้ง่าย



                                   มีเนื้อที่ประมาณ 6,216 ไร่ หรือร้อยละ 1.88 ของเนื้อที่ลุ่มน้ า พื้นที่เขตนี้มีการใช้

               ที่ดินเพื่อการปลูกสับปะรด ยางพารา ปาล์มน้ ามัน และมะม่วง ในสภาพพื้นที่มีความลาดชัน 12-20

               เปอร์เซ็นต์ หรือบริเวณที่มีการปลูกยางพารา ปาล์มน้ ามัน และมะม่วง ในสภาพพื้นที่มีความลาดชัน
               20-35 เปอร์เซ็นต์


                       มีข้อเสนอแนะในการใช้พื้นที่เขตพื้นที่เกษตรกรรมที่ควรส่งเสริมมาตรการในการอนุรักษ์ดินและ
               น้ า โดยในบริเวณพื้นที่ที่มีความลาดชันสูง และเสี่ยงต่อการชะล้างพังทลายควรจัดท าระบบอนุรักษ์ดินและ

               น้ า โดยใช้ระบบพืชในการอนุรักษ์ดินและน้ า เช่น การปลูกแถบหญ้าแฝก ปลูกพืชสลับเป็นแถบ หรือปลูกพืช
   88   89   90   91   92   93   94   95   96   97   98