Page 8 - แผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำคลองกุย อำเภอกุยบุรี และอำเภอสามร้อยยอด จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
P. 8

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน





               สอดคล้องกับสภาพปัญหาของพื้นที่และความต้องการของชุมชน สามารถน ามาจัดท าแผนการด าเนินงาน

               แบ่งออกเป็น 4 ระยะโดยมีเป้าหมายไม่น้อยกว่า 10,000 ไร่ต่อปี ได้แก่ ระยะที่ 1 (ปี 2563) ด าเนินงานใน
               พื้นที่บ้านวังไทร และบ้านยางชุม ระยะที่ 2 (ปี 2564) ด าเนินงานในพื้นที่บ้านรวมไทย และบ้านพุบอน

               ระยะที่ 3 (ปี 2565) ด าเนินงานในพื้นที่บ้านย่านซื่อ ระยะที่ 4 (ปี 2566) ด าเนินงานในพื้นที่บ้านโป่ง

               กระสัง
                                                                                          แบ่งตามระดับ

               ความรุนแรงของการชะล้างพังทลายของดิน ในพื้นที่ที่มีระดับรุนแรงมาก และระดับปานกลางก าหนด
               มาตรการในการไถพรวนและปลูกพืชตามแนวระดับ การยกร่องตามแนวระดับ การสร้างคันดิน คันดินเบน

               น้ า แนวหญ้าแฝก ทางล าเลียง คูรับน้ าขอบเขา ทางระบายน้ า ฝายชะลอน้ า และบ่อดักตะกอน ส่วนระดับ

               รุนแรงน้อย มีมาตรการเพิ่มเติมตามลักษณะภูมิประเทศ คือ การไถพรวนดิน การปรับระดับ และปรับรูป
               แปลงนา

                                                                               ส่วนใหญ่มีปัญหาดินตื้นและ

               ดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่ า ก าหนดมาตรการโดยเน้นการเพิ่มอินทรียวัตถุด้วยการปลูกพืชคลุมดินปลูกพืช

               ปุ๋ยสด การใช้ปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมัก และปุ๋ยชีวภาพ

                                                                                            ในพื้นที่ทาง

               การเกษตรซึ่งมีสภาพปัญหาการขาดแคลนน้ า จึงก าหนดมาตรการตามสภาพปัญหาและสอดคล้องตาม
               ความต้องการของชุมชน คือ อ่างเก็บน้ า สระเก็บน้ า ฝายทดน้ า การปรับปรุงล าน้ า คลองส่งน้ า ระบบส่ง

               น้ าด้วยท่อและระบบให้น้ าแบบ micro irrigation








                  ต้นแบบการบริหารจัดการทรัพยากรดินและน้ าเชิงบูรณาการ เพื่อป้องกันการชะล้างพังทลายของดิน

               เป็นรูปแบบการบริหารจัดการลุ่มน้ าเชิงระบบ ครอบคลุมทุกมิติแบบองค์รวม ได้แก่มิติทางกายภาพ สังคม

               เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อม โดยก าหนดทิศทางจากสภาพปัญหาเป็นตัวน าความรู้ทางวิชาการที่หลากหลาย
               สาขาผ่านกระบวนการคิด วิเคราะห์จากงานวิจัย และเทคโนโลยีด้านการพัฒนาที่ดิน การอนุรักษ์ดินและ

               น้ า ผ่านกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชน ประกอบด้วย การวิเคราะห์สภาพปัญหาของพื้นที่ คัดเลือก
               วิธีการประเมินปัญหาการชะล้างพังทลายของดิน และตรวจสอบข้อมูลที่เป็นปัจจุบันครอบคลุมประเด็น

               ปัญหาของสภาพพื้นที่อย่างแท้จริง ได้แก่ ข้อมูลการชะล้างพังทลายของดิน ข้อมูลด้านทรัพยากรดิน ข้อมูล

               สภาพการใช้ที่ดิน ระดับการเปลี่ยนแปลงของการใช้ที่ดิน ข้อมูลด้านทรัพยากรน้ า สภาพภูมิประเทศ และ
               สิ่งแวดล้อม ข้อมูลทางเศรษฐกิจและสังคม ซึ่งมีความเชื่อมโยงกันในด้านกายภาพ เศรษฐกิจ และสังคม

               โดยน าข้อมูลมาประกอบการวิเคราะห์และจัดท าแผนปฏิบัติการเพื่อป้องกันการชะล้างพังทลายของดิน
               และฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ า ทั้งนี้ เพื่อให้มีประสิทธิภาพ เกิดประสิทธิผล
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13