Page 40 - แผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำคลองกุย อำเภอกุยบุรี และอำเภอสามร้อยยอด จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
P. 40

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                             24



                   สามารถแปลงไปสู่การปฏิบัติได้อย่างเป็นรูปธรรม ตามระบบการบริหารเชิงยุทธศาสตร์ที่สอดคล้องกับ

                   ประเด็นปัญหาและบูรณาการการด าเนินงานของหน่วยงาน โดยผ่านกระบวนการมีส่วนร่วมจากภาคีผู้มี
                   ส่วนได้เสียที่เกี่ยวข้อง






















                   ภาพที่ 2-3  หลักการส าคัญในการจัดท าแผนการบริหารจัดการที่ดินและทรัพยากรดินของประเทศ

                   ที่มา: ส านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (2561)

                       การบริหารจัดการทรัพยากรดินระดับลุ่มน้ า ได้น าหลักการด้านการอนุรักษ์ดินและน้ าการบริหาร

                   จัดการเชิงระบบนิเวศที่ต้องด าเนินการเพื่อให้เกิดความสมดุลของระบบ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
                   พอเพียง การบูรณาการให้การใช้ประโยชน์ที่ดินเป็นไปอย่างเหมาะสมตามศักยภาพของที่ดิน มีความ

                   เชื่อมโยงกับการจัดการทรัพยากรน้ า ป่าไม้ และชายฝั่ง ให้เกิดประโยชน์สูงสุดทั้งในด้านเศรษฐกิจสังคม
                   วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม และความมั่นคงของประเทศ โดยให้ค านึงถึงสิทธิในทรัพย์สินของประชาชนหลัก

                   ธรรมาภิบาล การรับรู้ข้อมูลข่าวสาร การกระจายอ านาจ การมีส่วนร่วมของประชาชนชุมชนและ ภูมิสังคม

                   ดังนั้น เพื่อให้แผนบริหารจัดการแปลงไปสู่การปฏิบัติ จึงได้จัดท าแผนปฏิบัติการแบ่งออกเป็น 2 ระยะ คือ
                   ระยะ 4 ปี และระยะ 1 ปี

                       โดยน าเสนอต้นแบบการบริหารจัดการทรัพยากรดินระดับลุ่มน้ าในพื้นที่อื่น ๆ ครอบคลุมการแก้ไข
                   และป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นเกษตรกรรมครอบคลุมทั้งประเทศ ครอบคลุมทุกมิติ

                   แบบองค์รวม (interdisciplinary) ประกอบด้วย มิติทางกายภาพ สังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อม โดย

                   ก าหนดทิศทางจากสภาพปัญหาเป็นตัวน า (problem orientation) ความรู้ทางวิชาการที่หลากหลาย
                   สาขาผ่านกระบวนการคิด วิเคราะห์ จากงานวิจัย (research) และเทคโนโลยีด้านการพัฒนาที่ดิน การ

                   อนุรักษ์ดินและน้ า ผ่านกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชน (participation approach)
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45