Page 39 - แผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำคลองกุย อำเภอกุยบุรี และอำเภอสามร้อยยอด จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
P. 39
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
23
รุนแรงของการชะล้าง 2) เอกสารสิทธิ์ 3) การใช้ที่ดิน 4) กิจกรรมที่ด าเนินงานในพื้นที่ 5) แผนปฏิบัติงาน
ของพื้นที่ 6) ความต้องการของชุมชน โดยมีเกณฑ์การให้คะแนน ดังนี้
1) ระดับความรุนแรงของการชะล้าง
สูง = 3 คะแนน
ปานกลาง = 2 คะแนน
ต่ า = 1 คะแนน
2) การถือครองที่ดิน
มีเอกสารสิทธิ์ = 2 คะแนน
ไม่มีเอกสารสิทธิ์ = 1 คะแนน
3) การใช้ที่ดิน
พืชหลัก (พืชไร่) = 3 คะแนน
นาข้าว (พืชรอง) = 2 คะแนน
ไม้ผล/ไม้ยืนต้น (พืชรอง) = 1 คะแนน
4) กิจกรรมที่ด าเนินงานในพื้นที่
ไม่เคยมี = 2 คะแนน
เคยมี = 1 คะแนน
5) แผนการด าเนินงานในพื้นที่ ปี 2563
แหล่งน้ า ปรับปรุงดิน ระบบอนุรักษ์ดินและน้ า = 3 คะแนน
แหล่งน้ าและปรับปรุงดิน = 2 คะแนน
แหล่งน้ า หรือปรับปรุงดิน = 1 คะแนน
6) ความต้องการของชุมชน
ต้องการแหล่งน้ าและระบบอนุรักษ์ดินและน้ า = 3 คะแนน
ต้องการแหล่งน้ าหรือระบบอนุรักษ์ดินและน้ า = 2 คะแนน
ต้องการงานด้านอื่น ๆ = 1 คะแนน
แผนปฏิบัติการเพื่อป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรม ลุ่มน้ าคลองกุย
ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2563-2566) และระยะ 1 ปี เพื่อเป็นเครื่องมือในการขับเคลื่อน โครงการป้องกันการชะ
ล้างพังทลายของดิน และฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ า ให้สามารถน าไปสู่การ
วางแผน การก าหนดมาตรการและบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรรมที่มีความเสี่ยงต่อการชะล้างพังทลาย
ของดินและพื้นที่ดินเสื่อมโทรม น าไปสู่การใช้ประโยชน์อย่างสูงสุดสมดุล เป็นธรรมและยั่งยืน รวมทั้ง