Page 29 - แผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำคลองกุย อำเภอกุยบุรี และอำเภอสามร้อยยอด จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
P. 29
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
13
1 : 25,000 ในพื้นที่ลุ่มน้ าห้วยกระเสียว-ห้วยท่ากวย ตามขั้นตอน ดังนี้
(1) การศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลดินเพื่อการจ าแนกตามลักษณะและสมบัติดิน ประจ าชุด
ดิน จ าแนกประเภทและความรุนแรงของดินปัญหาต่อการผลิตพืชตามปัญหาที่เกิดจาก สภาพธรรมชาติ
และจากการใช้ที่ดิน รวมถึงดินที่มีปัญหาเล็กน้อยที่เป็นข้อจ ากัดทางการเกษตร
(2) การจัดท าแผนที่ดินปัญหาและประเมินความรุนแรงของดินปัญหาในพื้นที่ ด าเนินการ
เพื่อน าไปใช้ในแก้ไขฟื้นฟูและป้องกันการชะล้างพังทลายของดินรวมถึงก าหนด มาตรการด้านการอนุรักษ์
ดินและน้ าเพื่อการใช้ที่ดินทางการเกษตรได้อย่างยั่งยืน
การประเมินสถานภาพทรัพยากรน้ า ส าหรับน าไปใช้ในการประเมินการชะล้าง พังทลาย
ของดินจัดท าแผนการใช้ที่ดินก าหนดมาตรการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและ อนุรักษ์ดินและน้ า
การประเมินปริมาณน้ าผิวดินที่ไหลจากพื้นผิวดินสู่ร่องน้ าล าห้วยคลองและแม่น้ าโดยอาศัยการค านวณจาก
ปริมาณน้ าฝนที่ตกลงมาบนพื้นที่หนึ่ง ๆ แล้วถูกดูดซับลงไปเก็บกักไว้ในดิน และระเหยไปในอากาศ น้ าที่
เหลือจากกระบวนการต่าง ๆ เหล่านี้ จะไหลลงสู่ร่องน้ า ล าห้วย คลองและแม่น้ าต่อไปอัตราการไหลและ
ปริมาณน้ าขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายอย่าง เช่น ความรุนแรง ปริมาณน้ าทิศทางลมลักษณะความลาดเทของ
พื้นที่ประสิทธิภาพการเก็บกักน้ าบนผิวดินการใช้ที่ดินสมบัติของดินและขนาดของพื้นที่รับน้ าทั้งนี้เพื่อให้ได้
ฐานข้อมูลที่สอดคล้องกับหลักการ ส าคัญของการอนุรักษ์ดินและน้ าที่เป็นการรักษาความชุ่มชื้นในดินการ
เก็บกักน้ าไหลบ่าบนผิวดินไว้ ใช้ในพื้นที่เพื่อประโยชน์สูงสุดตามศักยภาพของพื้นที่บริเวณนั้น ๆ ใน
ขณะเดียวกันจะต้องระบายน้ าส่วนเกินทิ้งไปในพื้นที่ที่ควบคุมได้เพื่อไม่ให้เกิดความเสียหายกับพื้นที่
โดยเฉพาะการกัดเซาะพังทลายของดินจึงก าหนดการประเมินศักยภาพภาพปริมาณน้ าท่า ดังนี้
- การค านวณปริมาณน้ าท่า ด้วยวิธี Regional Runoff equation (Lanning-Rush, 2000) โดยอาศัย
ความสัมพันธ์แบบรีเกรซชั่น (regression) ระหว่างปริมาณน้ านองสูงสุดเฉลี่ยและพื้นที่รับน้ าฝนจากข้อมูล
สถานีวัดน้ าในลุ่มน้ าต่าง ๆ ในลุ่มน้ าขนาดใหญ่เพื่อหาปริมาณน้ าท่าเฉลี่ยที่จุดต่าง ๆ ในลุ่มน้ า ดังสมการ
Q = aA
b
f
เมื่อ Q คือปริมาณน้ านองสูงสุดรายปีเฉลี่ย (ลูกบาศก์เมตร/วินาที)
f
A คือพื้นที่รับน้ าฝน (ตารางกิโลเมตร)
a, b คือค่าคงที่ค านวณจากกราฟ
1) การรวบรวมและตรวจสอบเอกสาร ทั้งในรูปแบบของแผนที่ แผนที่เชิงเลข และ รายงาน
ที่เกี่ยวข้องกับจังหวัดอุทัยธานี เพื่อใช้ในการก าหนดแนวทางการด าเนินงาน
2) การเตรียมข้อมูลดาวเทียม
(1) ข้อมูลจากดาวเทียมไทยโชตที่ใช้ในการปฏิบัติงาน ประกอบด้วยข้อมูลเชิงเลข