Page 70 - แผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำห้วยศาลจอด อำเภอสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร
P. 70

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                             47





                              จากการศึกษาสภาพพื้นที่ของลุ่มน้ าห้วยศาลจอด พื้นที่ทั้งหมด 207,254.65 ไร่ ตั้งแต่ส่วนของ

                   ต้นน้ าครอบคลุมพื้นด าเนินการในช่วงกลางน้ าถึงปลายน้ า โดยมีพื้นที่รับน้ าเท่ากับ 331.61ตารางกิโลเมตร
                   (207,254.65 ไร่) แบ่งเป็นพื้นที่รับน้ าในพื้นที่ด าเนินการ 153.35 ตารางกิโลเมตร (95,844 ไร่) ซึ่งภายในลุ่ม

                   น้ าจะมีล าน้ า ล าห้วยไหลลงสู่ล าน้ าสายหลัก จึงสามารถแบ่งพื้นที่ภายในเป็นลุ่มน้ าย่อยได้อีก (ภาพที่ 3-7)

























                   ภาพที่ 3-7  พื้นที่ลุ่มน้ าห้วยศาลจอด อ าเภอสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร


                              1) ปริมาณน้้าท่า โดยวิธี Reginal Runoff equation
                                 ค านวณปริมาณน้ าท่า ด้วยวิธี Reginal Runoff equation ซึ่งอาศัยความสัมพันธ์แบบ
                   รีเกรซชั่น (regression) ระหว่างปริมาณน้ านองสูงสุดเฉลี่ยและพื้นที่รับน้ าฝน ซึ่งจากข้อมูลพื้นที่ลุ่มน้ า

                   ห้วยศาลจอด มีพื้นที่รับน้ าเท่ากับ 331.61ตารางกิโลเมตรสามารถค านวณปริมาณน้ าท่าได้จากสมการ


                                                        = 0.5289   1.000
                                 สามารถวิเคราะห์ปริมาณน้ าเฉลี่ยรายปีและพื้นที่รับน้ าที่ได้จากสมการที่ 3 เท่ากับ

                   175.39 ล้านลูกบาศก์เมตร โดยมีปริมาณน้ าไหลเข้าพื้นที่ด าเนินการเท่ากับ 94.28 ล้านลูกบาศก์เมตร
                   และในพื้นที่ด าเนินการมีปริมาณน้ าเท่ากับ 81.11 ล้านลูกบาศก์เมตร แสดงให้เห็นว่าลุ่มน้ ามีศักยภาพใน

                   การพัฒนาด้านการเก็บกักน้ าท่าเพื่อใช้ในพื้นที่การเกษตรได้และสามารถสร้างความสัมพันธ์ระหว่าง

                   ปริมาณน้ าท่าเฉลี่ยรายปี และพื้นที่รับน้ าของลุ่มน้ าห้วยศาลจอด (ภาพที่ 3-8)
   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75