Page 72 - แผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำห้วยศาลจอด อำเภอสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร
P. 72

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                             49


                   ตารางที่ 3-5 แสดงค่าสมดุลน้ าพื้นที่ลุ่มน้ าห้วยศาลจอดอ าเภอสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร

                                                                                         ปริมาณน้ า (มม.)

                         ฝน (Precipitation)                                                    1,415.40

                         ค่าการระเหยน ้าของพืช ( PET )                                         1,524.00
                         การคายระเหย (Evaporation and transpiration)                            570.20

                         น้ าผิวดิน ( Surface runoff )                                          289.77

                         น้ าในดินเขตรากพืช (lateral flow)                                         6.23
                         การซึมสู่ชั้นน้ าใต้ดินระดับตื้น (Percolation to shallow aquifer)      550.61

                         การไหลย้อนจากชั้นน้ าใต้ดินระดับตื้น (Revap from shallow aquifer)       30.48

                         การไหลของน้ าใต้ดินสู่ล าน้ า (Return flow)                            492.66
                         การเติมน้ าสู่ระดับน้ าบาดาล (Recharge to deep aquifer)                 27.53


                              ลุ่มน้ าห้วยศาลจอด มีปริมาณฝนเฉลี่ย 1,415.40 มิลลิเมตรจะเป็นน้ าผิวดิน 289.77
                   มิลลิเมตรเป็นน้ าที่ไหลในเขตรากพืช 6.23มิลลิเมตรซึมลงสู่เขตน้ าใต้ดินระดับตื้น 550.61 มิลลิเมตรไหลลง

                   สู่ล าน้ า 492.66 มิลลิเมตรและไหลลงสู่ชั้นน้ าบาดาล 27.53 มิลลิเมตร
                              แสดงว่าเมื่อปริมาณน้ าที่ไหลในล าน้ า เป็น 289.77+ 6.23 + 492.66

                                                               = 788.66มิลลิเมตร

                              อัตราส่วนของน้ าท่าต่อน้ าฝนเป็น ( C ) 0.56
                              จากผลการศึกษาศักยภาพพบว่าลุ่มน้ าห้วยศาลจอดมีศักยภาพในการพัฒนาแหล่งน้ าต้นทุน

                   มีความเหมาะสมที่จะท าการศึกษาความเหมาะสมโครงการ เพื่อน าไปสู่การส ารวจและออกแบบ โครงการ

                   ต่อไป




                              แนวทางหนึ่งในการแก้ปัญหาทรัพยากรน้ าของพื้นที่ ควรเริ่มต้นที่ชุมชนและท้องถิ่น คือการ

                   พัฒนาแหล่งน้ าของชุมชน และท้องถิ่นว่าควรเป็นการพัฒนาแหล่งกักเก็บน้ าขนาดเล็ก ด้วยเหตุผลของ
                   ข้อจ ากัดในงบประมาณ ความรวดเร็ว และการจัดการภายในพื้นที่เฉพาะ การพัฒนาแหล่งน้ าขนาดเล็กจึง

                   เป็นทางเลือกที่เหมาะสมและมีความส าคัญต่อชุมชนดังนั้น เพื่อให้เกิดภาพรวมในการแก้ไขปัญหา
                   ทรัพยากรน้ าของพื้นที่ให้มีประสิทธิภาพและมีความเชื่อมโยงกันระหว่างการพัฒนาทรัพยากรน้ าและ

                   มิติอื่น ๆ ทั้งในด้านการอนุรักษ์ดินและน้ า การฟื้นฟูสภาพป่า และการใช้ที่ดิน อย่างเป็นรูปธรรม

                   ให้เกิดความรู้ความเข้าใจในศักยภาพของพื้นที่ท้องถิ่นของตนเองว่ามีปริมาณต้นทุนเดิมและความเป็นไปได้
                   ในการพัฒนาทรัพยากรน้ าเพิ่มมากขึ้นเพียงใด ในพื้นที่ศึกษาลุ่มน้ าห้วยศาลจอด ที่ผ่านมาในด้านการ

                   พัฒนาแหล่งน้ าต้นทุนไม่ได้มีโครงการขนาดใหญ่ มีเพียงโครงการพัฒนาแหล่งน้ าขนาดเล็กโดยหน่วยงาน
                   ต่าง ๆ (ตารางที่ 3-6)
   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77