Page 139 - แผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำห้วยศาลจอด อำเภอสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร
P. 139

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                         102







                           ในการบริหารจัดการพื้นที่อนุรักษ์ดินและน้ า จะพิจารณาการบริหารจัดการเป็นลุ่มน้ า ดังนั้น

               จึงได้น าผลจากการคัดเลือกพื้นที่ด าเนินการจากการจัดล าดับความส าคัญมาพิจารณาเพื่อก าหนดพื้นที่และ

               มาตรการ โดยในปีงบประมาณ พ.ศ.2565 มีความจ าเป็นโดยเร่งด่วนส าหรับการแก้ไขปัญหาความ
               เดือดร้อนให้กับเกษตรกร ในพื้นที่รับน้ า 2 ล าน้ าด้วยกันคือ พื้นที่ลุ่มน้ าห้วยด าเนิน และพื้นที่ลุ่มน้ า

               ห้วยศาลจอดส่วนปลาย โดยมีขนาดพื้นที่รวมประมาณ 20,000 ไร่ ซึ่งพื้นที่ดังกล่าวเป็นส่วนปลายของ
               ห้วยศาลจอด ปัญหาที่ส าคัญของพื้นที่คือ ปัญหาน้ าท่วมในช่วงฤดูฝน โดยปริมาณน้ าค่อนข้างมาก

               ไหลหลากมาจากทางทิศใต้ และปริมาณน้ าของห้วยสาขา เติมลงในพื้นที่ด าเนินการเป็นผลให้เกิดน้ าท่วม

               ในพื้นที่ดังกล่าวประมาณ 1 เดือน ได้สร้างความเสียหายให้กับพื้นที่นาข้าว ตามล าห้วย ส่วนในหน้าแล้ง
               พื้นที่ดังกล่าวจะขาดน้ า จนถึงต้นฤดูกาลเพาะปลูก ซึ่งจากปัญหาดังกล่าวได้ก าหนดมาตรการระบบอนุรักษ์

               ดินและน้ าที่ต้องด าเนินการในพื้นที่สาธารณะคือ ฝายน้ าล้น ในล าห้วยสาขา เพื่อชะลอความเร็วของน้ า
               และกักเก็บน้ าไว้ในฤดูขาดน้ า ในส่วนของล าห้วยสายหลักด าเนินการก่อสร้างประตูระบายน้ า เพื่อควบคุม

               ปริมาณน้ าของห้วยศาลจอด และด าเนินการตกแต่งทางน้ าทั้งห้วยสาขาและล าห้วยหลัก

                           ส าหรับมาตรการด้านการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ าเพื่อป้องกันการชะล้างในพื้นที่
               ด าเนินการในปี พ.ศ.2565 ซึ่งพื้นที่ดังกล่าวเป็นพื้นที่มีอัตราการชะล้างมากกว่า 1 ตัน/ไร่/ปี โดยในพื้นที่

               พบร่องรอยการชะล้างให้เห็นชัดเจนโดยเฉพาะการใช้พื้นที่เพื่อปลูกพืชไร่ โดยได้ก าหนดมาตรการเพื่อ

               ป้องกันดิน หรือตะกอนดินที่ไหลลงสู่ล าห้วยสาขาและล าห้วยสายหลัก ได้แก่ การไถพรวนและปลูกพืชตาม
               แนวระดับ การยกร่องตามแนวระดับ คันดินเบนน้ า แนวหญ้าแฝกทางล าเลียง แนวคันหญ้าแฝก

               ทางระบายน้ า บ่อดักตะกอน และการปรับระดับและปรับรูปแปลงนา ในส่วนของพื้นที่นาในพื้นที่ดอน

                           นอกจากนี้ พื้นที่ดังกล่าวยังประสบกับปัญหาของทรัพยากรดินที่เสื่อมโทรม อันเนื่องมาจาก
               การถูกชะล้างหน้าดิน ในแต่ละปี ประกอบกับวัตถุก าเนิดดินที่มีความอุดมสมบูรณ์ต่ า และหน้าดินตื้น ซึ่ง

               เป็นอุปสรรคส าหรับการเพาะปลูก โดยปัญหาดังกล่าวได้ก าหนดมาตรการด้านการฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรม
               ได้แก่ การส่งเสริมการปลูกพืชปุ๋ยสดโดยเฉพาะปอเทือง เพื่อปรับปรุงบ ารุงดิน และเพิ่มธาตุอาหารในดิน

               การใช้ปุ๋ยหมัก และน้ าหมักชีวภาพ
   134   135   136   137   138   139   140   141   142   143   144