Page 134 - แผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำห้วยศาลจอด อำเภอสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร
P. 134

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                          98




                               5





















                           คณะท้ำงำนจัดท้ำแผนกำรบริหำรจัดกำรโครงกำรป้องกันกำรชะล้ำงพังทลำยของดินและ

               ฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรม ด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้้ำพื้นที่ลุ่มน้ าห้วยศาลจอด จังหวัดสกลนคร ได้จัดท า
               แผนการบริหารจัดการทรัพยากรดินและแผนปฏิบัติการเพื่อป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟู

               พื้นที่เกษตรกรรม ลุ่มน้ าห้วยศาลจอด ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2565-2568) และระยะ1 ปีเพื่อเป็นเครื่องมือใน
               การขับเคลื่อนโครงกำรป้องกันกำรชะล้ำงพังทลำยของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรม ด้วยระบบอนุรักษ์

               ดินและน้้ำ ให้สามารถน าไปสู่การวางแผน การก าหนดมาตรการและบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรรมที่มี

               ความเสี่ยงต่อการชะล้างพังทลายของดินและพื้นที่ดินเสื่อมโทรม น าไปสู่การใช้ประโยชน์อย่างสูงสุด สมดุล
               เป็นธรรมและยั่งยืน รวมทั้งสามารถแปลงไปสู่การปฏิบัติได้อย่างเป็นรูปธรรมตามระบบการบริหารเชิง

               ยุทธศาสตร์ที่สอดคล้องกับประเด็นปัญหาและบูรณาการการด าเนินงานของหน่วยงานโดยผ่าน
               กระบวนการมีส่วนร่วมจากภาคีผู้มีส่วนได้เสียที่เกี่ยวข้อง

                           การบริหารจัดการทรัพยากรดินระดับลุ่มน้ าได้น าหลักการด้านการอนุรักษ์ดินและน้ า การ

               บริหารจัดการเชิงระบบนิเวศที่ต้องด าเนินการเพื่อให้เกิดความสมดุลของระบบนิเวศมีการกระจายการถือ
               ครองอย่างเป็นธรรมตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงการบูรณาการให้การใช้ประโยชน์ที่ดินเป็นไป

               อย่างเหมาะสมตามศักยภาพของที่ดินมีความเชื่อมโยงกับการจัดการทรัพยากรน้ าป่าไม้ให้เกิดประโยชน์

               สูงสุดทั้งในด้านเศรษฐกิจสังคมวัฒนธรรมสิ่งแวดล้อมและความมั่นคงของประเทศโดยให้ค านึงถึงสิทธิใน
               ทรัพย์สินของประชาชนหลักธรรมาภิบาลการรับรู้ข้อมูลข่าวสารการกระจายอ านาจการมีส่วนร่วมของ

               ประชาชนชุมชนและภูมิสังคม ดังนั้น เพื่อให้แผนบริหารจัดการแปลงไปสู่การปฏิบัติ จึงได้จัดท าแผนปฏิบัติ

               การ แบ่งออกเป็น 2 ระยะ คือ ระยะ 4 ปี และระยะ 1 ปี โดยน าข้อมูลผลการประเมินการสูญเสียดินมี 2
               ระดับ (ระดับน้อย และน้อยมาก) ข้อมูลสภาพดินปัญหาของพื้นที่ และการขาดแคลนน้ า มาใช้ในการ

               บริหารจัดการสู่การก าหนดมาตรการและกิจกรรมในระดับพื้นที่เพื่อเป็นต้นแบบการบริหารจัดการ
               ทรัพยากรดินระดับลุ่มน้ าในพื้นที่อื่น ๆ ครอบคลุมการแก้ไขและป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและ

               ฟื้นฟูพื้นเกษตรกรรมครอบคลุมทั้งลุ่มน้ า
   129   130   131   132   133   134   135   136   137   138   139