Page 138 - แผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำห้วยศาลจอด อำเภอสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร
P. 138

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                             101


                              จากการวิเคราะห์สภาพปัญหาของพื้นที่ ข้อมูลทางเศรษฐกิจและสังคม ประกอบด้วยข้อมูล

                   ทุติยภูมิและปฐมภูมิที่ได้จากการส ารวจภาคสนามเพื่อให้ได้ข้อมูลที่เป็นปัจจุบันครอบคลุมประเด็นปัญหา
                   ของสภาพพื้นที่อย่างแท้จริงได้แก่ ข้อมูลการชะล้างพังทลายของดิน ข้อมูลด้านทรัพยากรดิน (คุณสมบัติ

                   ของดิน, สภาพดินปัญหา) ข้อมูลสภาพการใช้ที่ดิน ระดับการเปลี่ยนแปลงของการใช้ที่ดิน ด้านทรัพยากร

                   น้ า สภาพภูมิประเทศและสิ่งแวดล้อม ซึ่งมีความเชื่อมโยงกันในด้านกายภาพ ด้านเศรษฐกิจ และสังคม
                   ผ่านกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชน และการรับฟังความคิดเห็นของหน่วยงานในระดับพื้นที่ เพื่อน า

                   ข้อมูลมาประกอบการวิเคราะห์และจัดท าจัดท าแผนปฏิบัติการเพื่อป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและ
                   ฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรม ด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ าให้มีประสิทธิภาพเกิดประสิทธิผลถูกต้องตาม

                   สมรรถนะและศักยภาพของที่ดิน และให้ผู้ที่เกี่ยวข้องได้เกิดการเรียนรู้น าไปสู่การจัดการที่ถูกต้อง

                   เหมาะสมและให้ได้เครื่องมือในการใช้ที่ดินอย่างยั่งยืน เพื่อลดอัตราการชะล้างพังทลายและการกัดเซาะ
                   หน้าดิน การตกตะกอน และปริมาณสารพิษตกค้างที่เป็นผลมาจากการใช้ที่ดินบนพื้นที่ลุ่มน้ าให้อยู่ใน

                   เกณฑ์มาตรฐานเกษตรกรและชุมชนสามารถใช้ประโยชน์ที่ดินได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม จึงมีการ
                   ก าหนดแนวทางและมาตรการที่มีความสอดคล้องกับสภาพปัญหา แผนการใช้ที่ดิน บนพื้นฐานการมีส่วนร่วม

                              1. มาตรการด้านการด้านการอนุรักษ์ดินและน้้าเพื่อป้องกันการชะล้างพังทลายของดิน

                   พื้นที่ลุ่มน้ าห้วยศาลจอด ทั้งลุ่มน้ ามีระดับความรุนแรงน้อย อัตราการสูญเสียดิน 0-2 ตัน/ไร่/ปี ซึ่ง
                   มาตรการด้านอนุรักษ์ดินและน้ าเพื่อป้องกันการชะล้างพังทลายของดินได้แก่ การไถพรวนและการปลูกพืช

                   ตามแนวระดับ (cultivation) การยกร่องตามแนวระดับ (ridging) คันดินเบนน้ า (division terrace)แนว

                   หญ้าแฝกทางล าเลียง (farm road) แนวคันหญ้าแฝก ทางระบายน้ า (water ways) ฝายชะลอน้ า (check
                   dam,weir) บ่อดักตะกอน (pond) การปรับระดับและปรับปรุงแปลงนา

                              2. มาตรการด้านการอนุรักษ์ดินและน้้าเพื่อฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรม ดินที่พบส่วนใหญ่
                   มีปัญหาด้านความอุดมสมบูรณ์ต่ า และดินตื้น จึงก าหนดมาตรการคือส่งเสริมการปลูกพืชปุ๋ยสดโดยเฉพาะ

                   ปอเทือง เพื่อปรับปรุงบ ารุงดิน และยังเพิ่มธาตุอาหารในดิน การใช้ปุ๋ยหมัก และน้ าหมักชีวภาพ ในส่วน

                   ของพื้นที่นาข้าวที่ได้รับผลกระทบจากน้ าซับน้ าเค็มพื้นที่มีประมาณ 400 ไร่ จ าเป็นต้องปรับรูปแปลงนา
                   และปรับปรุงบ ารุงดินด้านพืชปุ๋ยสด ปุ๋ยคอก หรือปุ๋ยหมัก

                              3. มาตรการด้านการอนุรักษ์ดินและน้้าเพื่อพัฒนาแหล่งน้้า พื้นที่ทางการเกษตรของ
                   ลุ่มน้ าห้วยศาลจอดประสบกับสภาพปัญหาน้ าท่วมในฤดูน้ าหลากไหลบ่าท่วมพื้นที่ตามแนวล าห้วย

                   และขาดแคลนน้ าในบางช่วงของฤดูการเพาะปลูก จึงก าหนดมาตรการด้านสภาพปัญหา และความต้องการ

                   ของชุมชนคือการขุดลอกตกแต่งแนวทางน้ าห้วยศาลจอด และล าห้วยสาขา อาคารชะลอน้ าใน
                   ห้วยศาลจอด และฝายชะลอน้ าในล าห้วยสาขา บ่อน้ าในไร่นา คลองส่งน้ า และระบบบ่อบาดาล
   133   134   135   136   137   138   139   140   141   142   143