Page 117 - แผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำห้วยศาลจอด อำเภอสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร
P. 117

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                             87


                                -  ในกรณีที่เป็นดินตื้นไม่ควรปลูกพืชไร่หรือพืชล้มลุก ควรปลูกไม้ยืนต้นขวางความลาดเท

                   ของพื้นที่ และปลูกพืชคลุมดินระหว่างต้นพืช และควรท าคันคูรอบเขาเพื่อระบายน้ า ในกรณีที่ปลูกไม้
                   ยืนต้นและต้องการปลูกพืชแซมระหว่างแถวก่อนไม้ยืนต้นโตนั้นไม่ควรมีการไถพรวน เนื่องจากพื้นที่มีความ

                   ลาดชันสูงท าให้เกิดการสูญเสียหน้าดินได้ง่าย







                                มีเนื้อที่ประมาณ 13,362 ไร่ หรือร้อยละ 13.94 ของเนื้อที่ทั้งหมด พื้นที่เขตนี้มีการใช้ที่ดิน
                   เพื่อการท านาปลูกข้าว ในสภาพพื้นที่มีความลาดชัน 0-5 เปอร์เซ็นต์ และบริเวณที่มีการปลูกนาข้าว

                   ยางพารา มันส าปะหลังและอ้อย ในสภาพพื้นที่เป็นพื้นที่ราบเรียบ ค่อนข้างราบเรียบ ถึงลูกคลื่นลอนลาด
                   เล็กน้อย มีความลาดชัน 0-5 เปอร์เซ็นต์ ปัจจุบันมีการชะล้างพังทลายน้อยแต่มีแนวโน้มที่จะเกิดการ

                   ชะล้างพังทลายได้ง่าย เนื่องจากเนื้อดินค่อยข้างเป็นทรายและเป็นดินตื้นกระจายอยู่ทั่วไปในพื้นที่

                   มีข้อเสนอแนะในการใช้พื้นที่เขตพื้นที่เกษตรกรรมที่ต้องเร่งรัดด าเนินการจัดท าระบบอนุรักษ์ดินและน้ า
                   ดังนี้

                                - ควรท าคันดินเบนน้ าเพื่อป้องกันน้ าที่จะไหลบ่าเข้ามาจากพื้นที่ด้านนอก ซึ่งอาจจะท า
                   ความเสียหายให้แก่พืชในพื้นที่ได้ และยังช่วยลดการชะล้างพังทลายของดิน และอาจต้องท าทางระบายน้ า

                   ออกจากพื้นที่แต่ถ้ามีทางน้ าธรรมชาติอยู่แล้วควรรักษาให้อยู่ในสภาพดี

                                - ควรจัดระบบปลูกพืชให้เหมาะสมโดยการไถพรวน และปลูกพืชขวางความลาดเท และ
                   ควรจัดให้มีพืชขึ้นปกคลุมหน้าดินตลอดทั้งปี สนับสนุนการปลูกไม้โตเร็วควบคู่กับการอนุรักษ์ดินและน้ า

                   เน้นการท าการเกษตรแบบผสมผสานตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง โดยเน้นการปลูกพืชให้หลากหลาย

                   ชนิดทั้งไม้ผล ไม้ยืนต้น พืชไร่ และพืชผัก
                                - พัฒนากระบวนการผลิตไม้ผล ส่งเสริมการผลิตพืชปลอดสารพิษ เพิ่มศักยภาพการผลิตโดย

                   ปรับปรุงโครงสร้างของดินด้วยการปลูกพืชตระกูลถั่วในพื้นที่ เพื่อเพิ่มอินทรียวัตถุแก่ดิน ส่งเสริมการใช้

                   ปุ๋ยอินทรีย์ และผลิตภัณฑ์เทคโนโลยีชีวภาพทดแทนการใช้ปุ๋ยเคมีและสารเคมี




                                มีเนื้อที่ประมาณ 40,915ไร่ หรือร้อยละ 42.69 ของเนื้อที่ทั้งหมดซึ่งเป็นบริเวณที่มีการใช้
                   ที่ดินเพื่อการท านา สภาพดินที่พบในบริเวณนี้บางพื้นที่เป็นดินลึก ดินบนเป็นดินร่วนปนทรายถึงดินร่วน

                   ละเอียด มีการระบายน้ าดีถึงดีปานกลาง และบางพื้นที่เป็นดินตื้น มีกรวดลูกรัง และมีการท าคันนา ดินมี

                   ความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติต่ า ส่วนใหญ่แหล่งน้ าในเขตนี้พอเพียงส าหรับการเพาะปลูกในช่วงฤดูฝน
                   เท่านั้น แต่ถ้าบริเวณใดมีปริมาณน้ าพอเพียงก็สามารถปลูกพืชครั้งที่สองได้ มีข้อเสนอแนะในการใช้พื้นที่

                   เขตพื้นที่เกษตรกรรมที่มีการท านา ดังนี้

                                - ควรมีการปรับพื้นที่ในแปลงนา เพื่อรักษาระดับการขังของน้ าให้เหมาะสมในระยะที่ข้าว
                   เจริญเติบโต
   112   113   114   115   116   117   118   119   120   121   122