Page 113 - แผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำห้วยท่าแค จังหวัดนครราชสีมา
P. 113

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                             95


                   ให้เหมาะสมกับสภาพพื้นที่และสภาพการใช้ประโยชน์ที่ดิน ในระยะ 1 ปี ตามแผนปฏิบัติการรายปีนั้น ซึ่ง

                   จะต้องน าพื้นที่ด าเนินการและค าแนะน าในการบริหารจัดการ จากแผนปฏิบัติการระยะ 4 ปี ไปศึกษา
                   ความเหมาะสมของโครงการที่จะด าเนินการในพื้นที่ลุ่มน้ า โดยมีการศึกษาในด้านต่าง ๆ ควบคู่กันไป ทั้ง

                   ด้านการออกแบบมาตรการอนุรักษ์ดินและน้ าด้านต่าง ๆ โดยจัดการพื้นที่ตามสภาพความรุนแรงของ

                   ปัญหาและน ามาตรการ การป้องกันและฟื้นฟูทรัพยากรดินตามสภาพปัญหาของพื้นที่เฉพาะพื้นที่ไป
                   เพื่อให้เหมาะสมกับการใช้งานของเกษตรกร ด้านความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ ผลประโยชน์กับเกษตรกร

                   และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในพื้นที่ ผลกระทบของพื้นที่ที่ด าเนินโครงการ ในกรณีที่มีโครงการและกรณีที่ไม่มี
                   โครงการ โดยมีแนวทางในการบริหารทรัพยากรให้ได้ประโยชน์สูงสุด เพื่อการบริหารจัดการทรัพยากรดิน

                   และน้ าที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่และการใช้ประโยชน์ที่ดิน โดยน ามาตรการต่าง ๆ มาปรับใช้ทั้งในทางพืช

                   และทางวิศวกรรม โดยในการใช้มาตรการทางวิศวกรรมนั้นสามารถใช้มาตรการด้านต่าง ๆ ตามมาตรฐาน
                   ของกรมพัฒนาที่ดิน มาใช้ในการออกแบบรายละเอียด และจะต้องปฏิบัติตาม พ.ร.บ. วิศวกรรมด้วย เพื่อ

                   ควบคุมและจัดการพื้นที่ในการลดการชะล้างพังทลายและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรม เพื่อเป็นต้นแบบในการ
                   บริหารจัดการทรัพยากรดินและน้ าในพื้นที่อื่น ๆ ตามแผนปฏิบัติการรายปีต่อไป นอกจากนี้ยังมีการ

                   ติดตามและประเมินผลโครงการ เพื่อแก้ไขและปรับปรุงการด าเนินการตามมาตรการต่าง ๆ ที่ด าเนินการ

                   ลงไปในพื้นที่ให้เหมาะสมมากขึ้น โดยการด าเนินการกิจกรรมต่าง ๆ ในพื้นที่ นอกจากจะมีการด าเนินการ
                   ตามแนวทางของกรมพัฒนาที่ดินแล้ว ยังสามารถมีการบูรณการร่วมกับหน่วยงานต่าง ๆ ในกระทรวง

                   เกษตรและสหกรณ์และกระทรวงอื่น เช่น กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงมหาดไทย

                   กระทรวงการอุดมศึกษาวิทยาศาสตร์วิจัยและนวัตกรรม กระทรวงสาธารณสุข เป็นต้น การส่งเสริมอาชีพ
                   การถ่ายทอดความรู้ และสุขภาพอนามัยของประชาชนในพื้นที่ สร้างแรงจูงใจในการปรับเปลี่ยนการใช้

                   ที่ดิน แรงจูงใจในการน ามาตรการด้านอนุรักษ์ดินและน้ าเข้าไปใช้ในพื้นที่ของเกษตรกร
                              จากการวิเคราะห์สภาพปัญหาของพื้นที่ ข้อมูลทางเศรษฐกิจและสังคม ประกอบด้วย ข้อมูล

                   ทุติยภูมิและปฐมภูมิที่ได้จากการส ารวจภาคสนามเพื่อให้ได้ข้อมูลที่เป็นปัจจุบันครอบคลุมประเด็นปัญหา

                   ของสภาพพื้นที่อย่างแท้จริง ได้แก่ ข้อมูลการชะล้างพังทลายของดิน ข้อมูลด้านทรัพยากรดิน (คุณสมบัติ
                   ของดิน, สภาพดินปัญหา) ข้อมูลสภาพการใช้ที่ดิน ด้านทรัพยากรน้ า สภาพภูมิประเทศและสิ่งแวดล้อม ซึ่ง

                   มีความเชื่อมโยงกันในด้านกายภาพ ด้านเศรษฐกิจ และสังคม ผ่านกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชน และ
                   การรับฟังความคิดเห็นของหน่วยงานในระดับพื้นที่ เพื่อน าข้อมูลมาประกอบการวิเคราะห์และจัดท า

                   แผนปฏิบัติการเพื่อป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรม ด้วยระบบอนุรักษ์ดิน

                   และน้ า ให้มีประสิทธิภาพเกิดประสิทธิผลถูกต้องตามสมรรถนะและศักยภาพของที่ดิน และให้ผู้ที่เกี่ยวข้อง
                   ได้เกิดการเรียนรู้น าไปสู่การจัดการที่ถูกต้องเหมาะสมและให้ได้เครื่องมือในการใช้ที่ดินอย่างยั่งยืน เพื่อลด

                   อัตราการชะล้างพังทลายและการกัดซะหน้าดิน การตกตะกอน และปริมาณสารพิษตกค้างที่เป็นผลมาจาก

                   การใช้ที่ดินบนพื้นที่ลุ่มน้ าให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน เกษตรกรและชุมชนสามารถใช้ประโยชน์ที่ดินได้อย่าง
                   ถูกต้องและเหมาะสม จึงมีการก าหนดแนวทางและมาตรการที่มีความสอดคล้องกับสภาพปัญหา แผนการ

                   ใช้ที่ดิน บนพื้นฐานการมีส่วนร่วม ประกอบด้วย
   108   109   110   111   112   113   114   115   116   117   118