Page 118 - แผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำห้วยท่าแค จังหวัดนครราชสีมา
P. 118

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                          98


                          2. มาตรการด้านอนุรักษ์ดินและน้ าเพื่อฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรม ดินที่พบส่วนใหญ่มีปัญหาดิน

               เค็มและมีความอุดมสมบูรณ์ต่ า จึงก าหนดมาตรการ คือ ปลูกพืชคลุมดินปลูกพืชปุ๋ยสด การใช้ปุ๋ยคอก
               และปุ๋ยหมัก เพื่อเพิ่มอินทรียวัตถุ

                          3. มาตรการด้านอนุรักษ์ดินและน้ าเพื่อพัฒนาแหล่งน้ า ในพื้นที่การเกษตร พบปัญหาการขาด

               แคลนน้ าส าหรับท าเกษตรกรรรม จึงก าหนดมาตรการตามสภาพปัญหาและความต้องการของชุมชน คือ
               อ่างเก็บน้ า สระเก็บน้ า ฝายทดน้ า การปรับปรุงล าน้ า คลองส่งน้ า ระบบส่งน้ าด้วยท่อและระบบให้น้าแบบ

               micro irrigation








                           ในการบริหารจัดการพื้นที่อนุรักษ์ดินและน้ า จะพิจารณาการบริหารจัดการเป็นลุ่มน้ า ดังนั้น

               จึงได้น าผลจากการคัดเลือกพื้นที่ด าเนินการจากการจัดล าดับความส าคัญมาพิจารณาเพื่อก าหนดพื้นที่และ
               มาตรการ โดยแบ่งเป็นลุ่มน้ าขนาดย่อย ๆ เพื่อความสะดวกในการปฏิบัติงานและการติดตามประเมินผล

               ตัวชี้วัด โดยในปีงบประมาณ 2563 สามารถด าเนินการได้ในพื้นที่ลุ่มน้ าห้วยท่าแค ในพื้นที่ บ้านสายออ
               หมู่ 1 บ้านบุ หมู่ 3 บ้านกุดจิก หมู่ 6 บ้านสระตอง หมู่ 9 ต าบลสายออ บ้านโคกพรม หมู่ 5 บ้านดอนแต้ว

               หมู่ 11 บ้านใหม่ บ้านสระจรเข้ หมู่ 13 ต าบลโนนไทย มีเนื้อที่ประมาณ 20,732 ไร่ โดยก าหนดมาตรการ

               ด้านการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ าประเภทที่ท าในพื้นที่ถือครองของเกษตรกรที่มีระดับการชะล้าง
               พังทลายปานกลาง ได้แก่ การไถพรวนและปลูกพืชตามแนวระดับ (contour cultivation) การยกร่องตาม

               แนวระดับ (ridging) การสร้างคันดิน (terrace bench terrace) คันดินเบนน้ า (division terrace)
               แนวหญ้าแฝกทางล าเลียง (farmroad) ทางระบายน้ า (waterways) ฝายชะลอน้ า (check damweir)

               บ่อดักตะกอน (pond) และระบบให้น้ าแบบ micro irrigation และระบบอนุรักษ์ดินและน้ าที่ต้องท าใน

               พื้นที่สาธารณะ ได้แก่ อ่างเก็บน้ า สระเก็บน้ า ฝายทดน้ า คลองส่งน้ า และระบบส่งน้ าด้วยท่อ
                          โดยจะได้น ามาตรการดังกล่าว ไปใช้ในการออกแบบเฉพาะพื้นที่และที่จุดรวมน้ า (outlet)

               ของแต่ละล าน้ า จะก าหนดให้มีอาคารแหล่งน้ า ไว้เพื่อประโยชน์ในการบริหารจัดการน้ าและวัดปริมาณ

               ตะกอนดินในล าน้ าเพื่อประเมินการลดการชะล้างของดินตามตัวชี้วัดในขั้นตอนการติดตามและประเมินผล
               ต่อไป
   113   114   115   116   117   118   119   120   121   122   123