Page 112 - แผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำห้วยท่าแค จังหวัดนครราชสีมา
P. 112

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                          94




                             5






















                          คณะท างานจัดท าแผนการบริหารจัดการโครงการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและ
               ฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรม ด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ า พื้นที่ลุ่มน้ าห้วยท่าแค จังหวัดนครราชสีมา ได้จัดท า

               แผนการบริหารจัดการทรัพยากรดิน และแผนปฏิบัติการเพื่อป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟู

               พื้นที่เกษตรกรรม ลุ่มน้ าห้วยท่าแค ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2563-2565) เพื่อเป็นเครื่องมือในการขับเคลื่อน
               โครงการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรม ด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ า ให้

               สามารถน าไปสู่การวางแผน การก าหนดมาตรการและบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรรม ที่มีความเสี่ยงต่อ

               การชะล้างพังทลายของดินและพื้นที่ดินเสื่อมโทรม น าไปสู่การใช้ประโยชน์อย่างสูงสุดสมดุล เป็นธรรม
               และยั่งยืน รวมทั้งสามารถแปลงไปสู่การปฏิบัติได้อย่างเป็นรูปธรรม ตามระบบการบริหารเชิงยุทธศาสตร์ที่

               สอดคล้องกับประเด็นปัญหาและบูรณการการด าเนินงานของหน่วยงาน โดยผ่านกระบวนการมีส่วนร่วม

               จากภาคีผู้มีส่วนได้เสียที่เกี่ยวข้องการบริหารจัดการทรัพยากรดินระดับลุ่มน้ าได้น าหลักการด้าน
               การอนุรักษ์ดินและน้ า การบริหารจัดการเชิงระบบนิเวศที่ต้องด าเนินการเพื่อให้เกิดความสมดุลของระบบ

               นิเวศ มีการกระจายการถือครองอย่างเป็นธรรม ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง การบูรณการการ
               ให้การใช้ประโยชน์ที่ดินเป็นไปอย่างเหมาะสมตามศักยภาพของที่ดิน มีความเชื่อมโยงกับการจัดการ

               ทรัพยากรน้ า ป่าไม้และชายฝั่ง ให้เกิดประโยชน์สูงสุดทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม
               และความมั่นคงของประเทศ โดยให้ค านึงถึงสิทธิในทรัพย์สินของประชาชน หลักธรรมาภิบาล การรับรู้

               ข้อมูลข่าวสารการกระจายอ านาจ การมีส่วนร่วมของประชาชน ชุมชนและภูมิสังคม ดังนั้น เพื่อให้แผน

               บริหารจัดการแปลงไปสู่การปฏิบัติ จึงได้จัดท าแผนปฏิบัติการ แบ่งออกเป็น 2 ระยะ คือ ระยะ 4 ปี โดย
               น าข้อมูลผลการประเมินการสูญเสียดิน 3 ระดับ (มาก ปานกลาง และน้อย) ข้อมูลสภาพดินปัญหาของ

               พื้นที่ และการขาดแคลนน้ า มาใช้ในการบริหารจัดการสู่การก าหนดมาตรการและกิจกรรมในระดับพื้นที่

               เพื่อเป็นต้นแบบการบริหารจัดการทรัพยากรดินระดับลุ่มน้ าในพื้นที่อื่น ๆ ครอบคลุมการแก้ไขและป้องกัน
               การชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นเกษตรกรรมครอบคลุมทั้งประเทศ ส าหรับแผนปฏิบัติการระยะ 4

               ปี เป็นการจัดกลุ่มของพื้นที่ในลุ่มน้ าตามล าดับความส าคัญของโครงการตามปัจจัยต่าง ๆ เพื่อก าหนด

               กรอบพื้นที่ด าเนินการตามปีงบประมาณ และค าแนะน าในการใช้มาตรการอนุรักษ์ดินและน้ าด้านต่าง ๆ
   107   108   109   110   111   112   113   114   115   116   117