Page 7 - แผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำห้วยกระเสียว-ห้วยท่ากวย อำเภอบ้านไร่ จังหวัดอุทัยธานี
P. 7
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
มาตรการในการไถพรวนและปลูกพืชตามแนวระดับ การยกร่องตามแนวระดับ การสร้างคันดิน คันดินเบน
น้ า แนวหญ้าแฝก ทางล าเลียง คูรับน้ าขอบเขา ทางระบายน้ าฝายชะลอน้ า และบ่อดักตะกอน ส่วนระดับ
รุนแรงน้อย มีมาตรการเพิ่มเติมตามลักษณะภูมิประเทศ คือ การไถพรวนดิน การปรับระดับ และปรับรูป
แปลงนา
ดินที่พบส่วนใหญ่มีปัญหา มี
ศักยภาพในการท าการเกษตรต่ า ซึ่งดินตื้นและดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่ า จึงก าหนดกลยุทธในการ
ด าเนินการที่มุ่งเน้นการฟื้นฟูปรับปรุงบ ารุงดิน และเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ที่ดินให้เหมาะสมและยั่งยืน มี
มาตรการ คือ การปลูกพืชคลุมดิน การปลูกพืชปุ๋ยสด การใช้ปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมัก และปุ๋ยชีวภาพเพื่อเพิ่ม
อินทรียวัตถุ และปรับปรุงบ ารุงดิน
ปัญหาการ
ขาดแคลนน้ า ด้วยข้อจ ากัดทางด้านศักยภาพของทรัพยากรดินที่มีความสามารถในการกักเก็บน้ าได้ต่ า
พื้นที่กักเก็บน้ าที่ไม่เพียงพอ และระบบการกระจายน้ าที่ไม่ครอบคลุมพื้นที่ จึงก าหนดกลยุทธในการ
ด าเนินการตามสภาพปัญหาและความต้องการของชุมชนที่มุ่งเน้น พัฒนาแหล่งน้ าต้นทุน แหล่งกักเก็บน้ า
และระบบชลประทานเพื่อการอนุรักษ์ดินและน้ า มีมาตรการ คือ อ่างเก็บน้ า สระเก็บน้ า ฝายชะลอน้ า
ฝายทดน้ า การปรับปรุงล าน้ า คลองส่งน้ า ระบบส่งน้ าด้วยท่อ บ่อบาดาล และจัดท าระบบธนาคารน้ าใต้
ดิน
ต้นแบบการบริหารจัดการทรัพยากรดินและน้ าเชิงบูรณาการ เพื่อป้องกันการชะล้างพังทลายของ
ดิน เป็นรูปแบบการบริหารจัดการลุ่มน้ าเชิงระบบ ครอบคลุมทุกมิติแบบองค์รวม ได้แก่ มิติทางกายภาพ
สังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อม โดยก าหนดทิศทางจากสภาพปัญหาเป็นตัวน าความรู้ทางวิชาการที่
หลากหลายสาขาผ่านกระบวนการคิด วิเคราะห์จากงานวิจัย และเทคโนโลยีด้านการพัฒนาที่ดิน การ
อนุรักษ์ดินและน้ า ผ่านกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชน ประกอบด้วย การวิเคราะห์สภาพปัญหาของ
พื้นที่ คัดเลือกวิธีการประเมินปัญหาการชะล้างพังทลายของดิน และ ตรวจสอบข้อมูลที่เป็นปัจจุบัน
ครอบคลุมประเด็นปัญหาของสภาพพื้นที่อย่างแท้จริง ได้แก่ ข้อมูลการชะล้างพังทลายของดิน ข้อมูลด้าน
ทรัพยากรดิน ข้อมูลสภาพการใช้ที่ดิน ระดับการเปลี่ยนแปลงของการใช้ที่ดิน ข้อมูลด้านทรัพยากรน้ า
สภาพภูมิประเทศ และสิ่งแวดล้อม ข้อมูลทางเศรษฐกิจและ สังคม โดยน าข้อมูลมาประกอบการวิเคราะห์
และจัดท าแผนปฏิบัติการเพื่อป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรม ด้วยระบบ
อนุรักษ์ดินและน้ า ทั้งนี้ เพื่อให้มีประสิทธิภาพเกิดประสิทธิผลถูกต้องตามสมรรถนะและศักยภาพของที่ดิน
รวมถึงให้ผู้ที่เกี่ยวข้องได้เกิดความตระหนักและการเรียนรู้น าไปสู่การจัดการที่ถูกต้อง พร้อมทั้งการ
ประเมินสถานการณ์การเปลี่ยนแปลง โดยการติดตามและประเมินผลตามตัวชี้วัด เพื่อให้ทราบผลส าเร็จ
จากการด าเนินงานด้านการลดอัตราการชะล้างพังทลายของดิน และด้านเศรษฐกิจ สังคมของชุมชน