Page 5 - แผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำห้วยกระเสียว-ห้วยท่ากวย อำเภอบ้านไร่ จังหวัดอุทัยธานี
P. 5

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน













                           จากการศึกษาและส ารวจข้อมูลดินในพื้นที่ลุ่มน้ าห้วยกระเสียว – ห้วยท่ากวย เพื่อจัดท า

                   ฐานข้อมูลและประเมินสถานภาพทรัพยากรดิน โดยเน้นด้านการชะล้างพังทลายของดิน ทั้งนี้เพื่อ น าไปสู่
                   การวิเคราะห์แนวทางการใช้ที่ดินด้านการเกษตร และก าหนดมาตรการเพื่อป้องกันชะล้างพังทลายของดิน

                   และอนุรักษ์ดินและน้ าที่เหมาะสม ผลการจ าแนกสภาพปัญหาของดินหรือข้อจ ากัดต่อการใช้ที่ดินด้าน
                   การเกษตร แบ่งเป็น 3 ประเภทหลัก ได้แก่ (1) ดินตื้น เป็นอุปสรรคต่อการเจริญเติบโตของพืชด้านการ

                   ชอนไชของรากพืช ครอบคลุมเนื้อที่รวม 5,238 ไร่ หรือร้อยละ 3.80 (2) ดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่ า

                   ครอบคลุมเนื้อที่รวม 39,678 ไร่ หรือร้อยละ 28.82 และ (3) ปัญหาพื้นที่มีความลาดชันสูง ส่วนใหญ่มี
                   สภาพการใช้ที่ดินเป็นป่าไม้ มีเนื้อที่ 67,447 ไร่ หรือ ร้อยละ 48.98 ของเนื้อที่ทั้งหมด





                           จากการศึกษาความสัมพันธ์ของ 3 ปัจจัยหลัก ได้แก่ การใช้ที่ดิน ทรัพยากรดิน และข้อมูลสภาพ
                   ภูมิอากาศ พบว่า พื้นที่ลุ่มน้ าห้วยกระเสียว – ห้วยท่ากวยมีพื้นที่ 220.32 ตารางกิโลเมตร (137,705 ไร่ )

                   มีปริมาณน้ าท่าคิดเป็น 132.33 ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี ซึ่งถือว่ามีปริมาณน้ าที่สามารถเก็บกักน้ าไว้ใช้เพื่อ

                   การเกษตรได้ในปริมาณมากเพียงพอ





                           สภาพการใช้ที่ดินในพื้นที่ด าเนินการส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ป่าไม้ มีเนื้อที่ 64,162 ไร่ หรือร้อยละ
                   48.94 ของเนื้อที่ทั้งหมด รองลงมาคือ พื้นที่เกษตรกรรมที่เป็นพืชในกลุ่มพืชไร่ ได้แก่ อ้อย มันส าปะหลัง

                   และสับปะรด มีเนื้อที่ 56,772 ไร่ หรือร้อยละ 41.23 ของเนื้อที่ทั้งหมดนอกจากนั้น พบพื้นที่เกษตรกรรม
                   ที่เป็นพืชในกลุ่มไม้ผลกระจายตัวเป็นหย่อมๆ ในพื้นที่ ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ยางพารา และปาล์มน้ ามัน มีเนื้อ

                   ที่ 9,279 ไร่ หรือร้อยละ 6.74 ของเนื้อที่ทั้งหมด




                           พื้นที่ส่วนใหญ่มีความรุนแรงของการชะล้างพังทลายในระดับปานกลาง โดยมีปริมาณการสูญเสีย

                   ดิน 2-5 ตันต่อไร่ต่อปี โดยครอบคลุมพื้นที่ร้อยละ 52.06 ของเนื้อที่ทั้งหมด รองลงมา คือ พื้นที่ความ

                   รุนแรงของการชะล้างพังทลายในระดับน้อยครอบคลุมพื้นที่ร้อยละ 30.00ของเนื้อที่ทั้งหมด นอกจากนี้ ใน
                   พื้นที่ที่มีสภาพภูมิประเทศแบบเนินเขา แบบสูงชัน และแบบสูงชันมาก ดินค่อนข้างเป็นทราย หรือมี

                   ปริมาณเศษหินมากกว่าร้อยละ 35 จะเกิดการชะล้างพังทลายของดินที่มีความรุนแรงถึงรุนแรงมากที่สุด
                   โดยก่อให้เกิดปริมาณการสูญเสียดินมากกว่า 5 ตันต่อไร่ต่อปี (ร้อยละ 17.94 ของเนื้อที่ทั้งหมด) ซึ่งพบ

                   บริเวณพื้นที่ท าการเกษตร โดยเฉพาะในพื้นทีท าการเกษตรบริเวณบ้านใหม่ร่มเย็น และบ้านอีเลย์ ต าบล

                   เจ้าวัด และบ้านผาทั่ง ต าบลห้วยแห้ง
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10