Page 28 - แผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำห้วยกระเสียว-ห้วยท่ากวย อำเภอบ้านไร่ จังหวัดอุทัยธานี
P. 28

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                          14


               data) และข้อมูลเชิงภาพ (analog data) การเตรียมข้อมูลดาวเทียมมีขั้นตอนการ ด าเนินงาน ดังนี้

                                 - การแก้ไขความคลาดเคลื่อนทางเรขาคณิต (geometric correction) เนื่องจาก
               ข้อมูลดาวเทียมที่ได้รับมายังมีความคลาดเคลื่อนเชิงต าแหน่งทางภูมิศาสตร์จ าเป็นต้องด าเนินการแก้ไข

               ต าแหน่งให้ถูกต้องเพื่อให้สามารถวิเคราะห์ซ้อนทับกับชั้นข้อมูลอื่น ๆ ได้โดยใช้ ภาพถ่ายออร์โธสีเชิงเลข

               ของกรมพัฒนาที่ดิน และแผนที่ภูมิประเทศ มาตราส่วน 1:50,000 จากกรมแผนที่ทหารเป็นข้อมูลอ้างอิง
                                 - การผลิตภาพจากข้อมูลดาวเทียมไทยโชตภาพที่ใช้เป็นภาพผสมสีเท็จ (false color)

               สามช่วงคลื่น เพื่อให้ภาพชัดเจนและง่ายต่อการวิเคราะห์มากขึ้น ท าการผสมสีดังนี้ ช่วงคลื่นอินฟราเรดใกล้
               (Near Infrared–NIR) ให้ผ่านตัวกรองแสงสีแดง (red filter) เนื่องจากช่วงคลื่นอินฟราเรดใกล้เป็นช่วงคลื่นที่

               พืชสีเขียวสะท้อนพลังงานมากที่สุดดังนั้นบริเวณที่มีพืชใบเขียว อยู่ในภาพจะมองเห็นเป็นสีแดงชัดเจนส่วน

               ช่วงคลื่นสีแดงให้ผ่านตัวกรองแสงสีเขียว (green filter) และช่วงคลื่นสีน้ าเงินให้ผ่านตัวกรองแสงสีน้ าเงิน
               (blue filter) หลังจากนั้นท าการเน้นรายละเอียดของข้อมูลภาพด้วยข้อมูลภาพช่วงคลื่นเดียวหรือภาพขาว-

               ด า ที่มีรายละเอียด จุดภาพ 2 เมตร ซึ่งเทคนิคนี้หรือที่เรียกว่า Pansharpening method จะท าให้
               ข้อมูลภาพสีมีรายละเอียดจุดภาพเพิ่มขึ้นเท่ากับ 2 เมตร

                                 - การผลิตภาพข้อมูลดาวเทียม LANDSAT 8 OLI จะใช้เทคนิคผสมสีเท็จ (false

               color composite) โดยช่วงคลื่นอินฟราเรดใกล้ Near Infrared (NIR) (0.85-0.88 ไมครอน) ผ่านตัว
               กรองสีแดงช่วงคลื่นอินฟราเรดคลื่นสั้น 1 (Short Wave Infrared1: SWIR1) (1.57-1.65 ไมครอน) ผ่าน

               ตัวกรองสีเขียวและช่วงคลื่นสีแดง (0.64-0.67 ไมครอน) ผ่านตัวกรองสีน้ าเงินเพื่อใช้ในการจ าแนกพืช

               พรรณ
                             (2) การวิเคราะห์ข้อมูลสภาพการใช้ที่ดินจากข้อมูลดาวเทียม โดยพิจารณาจาก

               องค์ประกอบของข้อมูล คือ ความเข้มของสีและสี (tone/color) ขนาด(size) รูปร่าง (shape) เนื้อภาพ
               (texture) รูปแบบ (pattern) ความสูงและเงา (height and shadow) ความเกี่ยวพัน (association)

               และการเปลี่ยนแปลงตามฤดูกาล (temporal change) เพื่อวิเคราะห์ข้อมูลสภาพการใช้ที่ดิน โดยใช้

               โปรแกรมวิเคราะห์ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์แล้ว จึงน าชั้นข้อมูลที่ได้ท าการวิเคราะห์ซ้อนทับกับ
               ภาพถ่ายออร์โธสีเชิงเลขและข้อมูลจากดาวเทียมไทย โชตเพื่อจัดพิมพ์เป็นแผนที่ส าหรับการส ารวจและ

               ตรวจสอบข้อมูลในภาคสนาม
                           3) การส ารวจข้อมูลในภาคสนาม โดยส ารวจและตรวจสอบรายละเอียดสภาพ การใช้ที่ดิน

               ในพื้นที่จริงพร้อมทั้งแก้ไขรายละเอียดให้มีความถูกต้องตรงกับสภาพปัจจุบัน

                           4) การสร้างฐานข้อมูลสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS database) เป็นการจัดท าทั้ง ฐานข้อมูล
               เชิงพื้นที่ (spatial data) และฐานข้อมูลเชิงคุณลักษณะ (attribute data) ของข้อมูลจากภาคสนามและ

               ข้อมูลแผนที่จากส่วนที่เกี่ยวข้อง โดยน าเข้าและประมวลผลในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ดังนี้

                             (1) การสร้างฐานข้อมูลเชิงพื้นที่เป็นการน าเข้าข้อมูลในรูปแผนที่เชิงเลขเพื่อ ใช้วิเคราะห์
               และประมวลผลเชิงพื้นที่

                             (2) การสร้างฐานข้อมูลเชิงคุณลักษณะ เป็นการน าเข้าข้อมูลด้านคุณลักษณะของแผนที่
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33