Page 9 - แผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำคลองแอ่ง อำเภอบ่อไร่ จังหวัดตราด
P. 9

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน






                       การด าเนินงานตามแผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรม

                   ด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ า มีกลไกการขับเคลื่อนการด าเนินงานในรูปแบบคณะกรรมการและ

                   คณะท างาน ในการจัดท าต้นแบบแผนการบริหารจัดการโครงการจัดการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟู
                   พื้นที่เกษตรกรรม ด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ า ส าหรับขับเคลื่อนการด าเนินงานด้านการอนุรักษ์ดินและน้ าให้

                   บรรลุเป้าหมายตามยุทธศาสตร์ 20 ปี แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 และแผนแม่บท

                   การบริหารจัดการทรัพยากรน้ า ดังนั้น เพื่อให้แผนบริหารจัดการเกิดผลสัมฤทธิ์ในทางปฏิบัติ บรรลุ
                   วัตถุประสงค์และเป้าหมายที่ก าหนดไว้ จึงจ าเป็นต้องได้รับการขับเคลื่อนและผลักดันจากทุกภาคส่วน และให้

                   เกิดการบูรณาการทุกระดับผ่านกระบวนการมีส่วนร่วม เพื่อให้การบริหารจัดการทรัพยากรดินและน้ ามี
                   เป้าหมายไปในทิศทางเดียวกัน ควรมีแนวทางการด าเนินงาน ดังนี้




                                   เพื่อป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรม ให้สามารถน าไปสู่

                   การวางแผน การก าหนดมาตรการและบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรรมที่มีความเสี่ยงต่อการชะล้าง
                   พังทลายของดิน และพื้นที่ดินเสื่อมโทรม




                                                                                 ระดับหน่วยงานที่ปฏิบัติงาน

                   ส่วนกลางและส่วนภูมิภาค โดยน าแนวทางการปฏิบัติงานไปก าหนดเป็นแผนงานโครงการ และก าหนดเป็น
                   ข้อตกลงการท างานระหว่างหน่วยงาน เน้นการท างานเชิงบูรณาการ เพื่อขับเคลื่อนองค์กรให้บรรลุ

                   เป้าหมายที่ก าหนดไว้

                                                                                        โดยจัดตั้งคณะท างาน

                   ติดตามประเมินผลที่มีกลไกและเครือข่ายการด าเนินงานทั้งหน่วยงานที่ปฏิบัติงานในส่วนกลางและส่วน

                   ภูมิภาคเชื่อมโยงการประเมินผล ทุกมิติ ประกอบด้วย มิติทางกายภาพหรือสิ่งแวดล้อม มิติสังคม และมิติ
                   เศรษฐกิจ ที่สามารถสะท้อนผลสัมฤทธิ์ของงานได้ชัดเจน จนน าไปสู่การปรับปรุงพัฒนาแผนการด าเนินงาน

                   โครงการให้เกิดประสิทธิผลและมีประสิทธิภาพ
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14