Page 6 - แผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำคลองแอ่ง อำเภอบ่อไร่ จังหวัดตราด
P. 6

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน












                        จากการศึกษาและส ารวจข้อมูลดินในพื้นที่ลุ่มน้ าคลองแอ่ง อ าเภอบ่อไร่ จังหวัดตราดเพื่อจัดท า

               ฐานข้อมูลและประเมินสถานภาพทรัพยากรดิน โดยเน้นด้านการชะล้างพังทลายของดิน ทั้งนี้เพื่อน าไปสู่
               การวิเคราะห์แนวทางการใช้ที่ดินด้านการเกษตร และก าหนดมาตรการเพื่อป้องกันชะล้างพังทลายของดิน

               และอนุรักษ์ดินและน้ าที่เหมาะสม  ผลการจ าแนกสภาพปัญหาของดินหรือข้อจ ากัดต่อการใช้ที่ดินด้าน
               การเกษตร แบ่งเป็น 3 ประเภทหลัก ได้แก่ (1) ดินตื้น เป็นอุปสรรคต่อการเจริญเติบโตของพืชด้านการชอน

               ไชของรากพืช ครอบคลุมเนื้อที่รวม 22,011 ไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 25.92 (2) ดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่ า

               ครอบคลุมเนื้อที่รวม 5,248 ไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 6.20 และ (3) ปัญหาพื้นที่มีความลาดชันสูง ส่วนใหญ่
               มีสภาพการใช้ที่ดินเป็นป่าไม้ มีเนื้อที่ 34,809 ไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 41.00 ของเนื้อที่ทั้งหมด





                        จากการศึกษาความสัมพันธ์ของ 3 ปัจจัยหลัก ได้แก่ การใช้ที่ดิน ทรัพยากรดิน และข้อมูลสภาพ
               ภูมิอากาศ พบว่า พื้นที่ลุ่มน้ าคลองแอ่งมีพื้นที่ 135.82 ตารางกิโลเมตร (84,890 ไร่ ) มีปริมาณน้ าท่าคิด

               เป็น 251.40 ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี มีแนวโน้มว่าปริมาณน้ าอาจไม่เพียงพอต่อความต้องการใช้น้ าใน
               อนาคต





                        การเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินในพื้นที่เกษตรกรรมในภาพรวมมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นจากปี พ.ศ. 2556

               เล็กน้อย โดยมีเนื้อที่เพิ่มขึ้นประมาณ 121 ไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 0.15 ของเนื้อที่เกษตรกรรมเดิม เนื่องจาก
               การเพิ่มขึ้นของประชากรในพื้นที่ และการเพิ่มขึ้นของภาคอุตสาหกรรมและการท่องเที่ยว ท าให้มีความ

               ต้องการสินค้าเกษตรกรรมเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะการใช้ที่ดินส าหรับไม้ยืนต้น ซึ่งมีพื้นที่เพิ่มขึ้นในปี พ.ศ. 2562
               ร้อยละ 1.23 ของเนื้อที่ปลูกไม้ยืนต้นเดิม (พ.ศ. 2556) ซึ่งส่วนใหญ่เป็นไม้ยืนต้นที่มีมูลค่าทางเศรษฐกิจ

               เช่น ยางพารา ปาล์มน้ ามัน กฤษณา นอกจากนี้มีพื้นที่ปลูกข้าวและพืชไร่ลดลง เนื่องจากสภาพพื้นที่ที่ไม่

               ค่อยเหมาะสม และราคาของสินค้าเกษตรในตลาดมีการเปลี่ยนแปลง




                        พื้นที่ส่วนใหญ่มีความรุนแรงของการชะล้างพังทลายในระดับน้อย โดยมีปริมาณการสูญเสียดิน

               0-2 ตันต่อไร่ต่อปี โดยครอบคลุมพื้นที่ร้อยละ 50.10 ของเนื้อที่ทั้งหมด นอกจากนี้ ในพื้นที่ที่มีสภาพภูมิ
               ประเทศแบบเนินเขา แบบสูงชัน และแบบสูงชันมากจะเกิดการชะล้างพังทลายของดินที่มีความรุนแรงมาก

               ที่สุด โดยก่อให้เกิดปริมาณการสูญเสียดินมากกว่า 20 ตันต่อไร่ต่อปี (ร้อยละ 14.02 ของเนื้อที่ทั้งหมด)

                        เมื่อพิจารณาถึงการประเมินการชะล้างพังทลายของดินในแต่ละพื้นที่ และแต่ละระดับ แม้ใน
               พื้นที่ที่มีการชะล้างพังทลายในระดับน้อย มีปริมาณการสูญเสียดิน 0-2 ตันต่อไร่ต่อปี ก็ไม่ควรเพิกเฉยต่อ
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11