Page 30 - แผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำคลองแอ่ง อำเภอบ่อไร่ จังหวัดตราด
P. 30

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                          14



               ผ่านตัวกรองสีเขียว และช่วงคลื่นสีแดง (0.64 - 0.67 ไมครอน) ผ่านตัวกรองสีน ้าเงิน เพื่อใช้ในการจ าแนก

               พืชพรรณ
                              (2) การวิเคราะห์ข้อมูลสภาพการใช้ที่ดินจากข้อมูลดาวเทียม และภาพถ่ายออร์โธสีเชิงเลข

               โดยพิจารณาจากองค์ประกอบของข้อมูล คือ ความเข้มของสีและสี (tone/color) ขนาด (size) รูปร่าง

               (shape) เนื้อภาพ (texture) รูปแบบ (pattern) ความสูงและเงา (height and shadow) ความ
               เกี่ยวพัน (association) และการเปลี่ยนแปลงตามฤดูกาล (temporal change) เพื่อวิเคราะห์ข้อมูลสภาพ

               การใช้ที่ดิน โดยใช้โปรแกรมวิเคราะห์ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์แล้วจึงน าชั้นข้อมูลที่ได้ท าการ
               วิเคราะห์ซ้อนทับกับภาพถ่ายออร์โธสีเชิงเลข และข้อมูลจากดาวเทียมไทยโชต เพื่อจัดพิมพ์เป็นแผนที่

                           3) การส ารวจข้อมูลภาคสนาม ประกอบด้วยข้อมูลจากการท าประชาพิจารณ์ และข้อมูลด้าน

               เศรษฐกิจและสังคม และข้อมูลอื่น ๆ
                           4) การสร้างฐานข้อมูลสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS database) เป็นการจัดท าทั้งฐานข้อมูลเชิง

               พื้นที่ (spatial data) และฐานข้อมูลเชิงคุณลักษณะ (attribute data) ของข้อมูลจากภาคสนามและข้อมูล
               แผนที่จากส่วนที่เกี่ยวข้อง โดยน าเข้าและประมวลผลในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ดังนี้

                              (1) การสร้างฐานข้อมูลเชิงพื้นที่ เป็นการน าเข้าข้อมูลในรูปแผนที่เชิงเลข เพื่อใช้วิเคราะห์

               และประมวลผลเชิงพื้นที่
                              (2) การสร้างฐานข้อมูลเชิงคุณลักษณะ เป็นการน าเข้าข้อมูลด้านคุณลักษณะของแผน

               ที่และข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลเชิงพื้นที่ เพื่อท าให้ทราบถึงความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลทั้ง 2 ประเภท

               ส าหรับใช้ในการวิเคราะห์และประมวลผลในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
                           5) การจัดท าแผนที่และฐานข้อมูล สภาพการใช้ที่ดินของพื้นที่ลุ่มน้ าคลองแอ่ง อ าเภอบ่อไร่

               จังหวัดตราด พ.ศ. 2561





                           การส ารวจเก็บรวบรวบข้อมูลด้านเศรษฐกิจและสังคมเพื่อประกอบการจัดท าแผนการใช้

               ที่ดินและแผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและความเสื่อมโทรมของดิน ด้วยระบบ

               อนุรักษ์ดินและน้ า โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นเกษตรกรที่ปลูกพืชเศรษฐกิจส าคัญของพื้นที่ ได้แก่ ยางพารา
               ไม้ผลผสม มีขั้นตอนการด าเนินงาน ดังนี้

                           1) การเก็บรวบรวมข้อมูล
                              รวบรวมข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่ส าคัญ ได้แก่ เกษตรกรผู้ให้สัมภาษณ์ ข้อมูลสถิติจาก

               หน่วยงานต่าง ๆ โดยสามารถจัดข้อมูลได้ 2 ประเภท คือ

                              (1) ข้อมูลปฐมภูมิ คือ ข้อมูลที่เก็บรวบรวมจากการส ารวจในภาคสนามด้วยวิธี การ
               สัมภาษณ์เกษตรกรในพื้นที่เป้าหมาย โดยการก าหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างใช้ตารางส าเร็จรูปของ Taro

               Yamane ที่ระดับความเชื่อมั่น 90% ได้ขนาดจ านวนตัวอย่างทั้งสิ้น 100 ตัวอย่าง แล้วท าการสุ่มตัวอย่าง
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35