Page 29 - แผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำคลองแอ่ง อำเภอบ่อไร่ จังหวัดตราด
P. 29

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                             13



                   ในขณะเดียวกันจะต้องระบายน้ าส่วนเกินทิ้งไปในพื้นที่ที่ควบคุมได้ เพื่อไม่ให้เกิดความเสียหายกับพื้นที่

                   โดยเฉพาะการกัดเซาะพังทลายของดิน จึงก าหนดการประเมินศักยภาพภาพปริมาณน้ าท่า ดังนี้
                              1) การค านวณปริมาณน้ าท่า ด้วยวิธี Resional Runoff equation (Lanning-Rush, 2000)

                   โดยอาศัยความสัมพันธ์แบบถดถอย (regression) ระหว่างปริมาณน้ านองสูงสุดเฉลี่ยและพื้นที่รับน้ าฝนจาก

                   ข้อมูลสถานีวัดน้ าในลุ่มน้ าต่างๆ ในลุ่มน้ าขนาดใหญ่ เพื่อหาปริมาณน้ าท่าเฉลี่ยที่จุดต่างๆ ในลุ่มน้ า ดังสมการ

                                                         Q  =  aA
                                                                   b
                                                           f

                          เมื่อ    Q       คือ ปริมาณน้ านองสูงสุดรายปีเฉลี่ย (ลูกบาศก์เมตร/วินาที)
                                  f
                                    A       คือ พื้นที่รับน้ าฝน (ตารางกิโลเมตร)
                                         a,b      คือ ค่าคงที่ค านวณจากกราฟ






                              1) การรวบรวมและตรวจสอบเอกสาร ทั้งในรูปแบบของแผนที่ แผนที่เชิงเลข และรายงานที่
                   เกี่ยวข้องกับจังหวัดตราด เพื่อใช้ในการก าหนดแนวทางการด าเนินงาน

                              2) การเตรียมข้อมูลดาวเทียมและภาพถ่ายออร์โธสี

                                 (1) ข้อมูลจากดาวเทียม ที่ใช้ในการปฏิบัติงาน ประกอบด้วยข้อมูลเชิงเลข (digital data)
                   และข้อมูลเชิงภาพ (analog data) การเตรียมข้อมูลดาวเทียม มีขั้นตอนการด าเนินงานดังนี้

                                    - การแก้ไขความคลาดเคลื่อนทางเรขาคณิต (geometric correction) เนื่องจาก

                   ข้อมูลดาวเทียมที่ได้รับมา ยังมีความคลาดเคลื่อนเชิงต าแหน่งทางภูมิศาสตร์  จ าเป็นต้องด าเนินการแก้ไข
                   ต าแหน่งให้ถูกต้อง เพื่อให้สามารถวิเคราะห์ซ้อนทับกับชั้นข้อมูลอื่น ๆ ได้ โดยใช้ภาพถ่ายออร์โธสีเชิงเลข

                   ของกรมพัฒนาที่ดิน และแผนที่ภูมิประเทศ มาตราส่วน 1 : 50,000 จากกรมแผนที่ทหารเป็นข้อมูลอ้างอิง
                                    - การผลิตภาพจากข้อมูลดาวเทียมไทยโชติ ภาพที่ใช้เป็นภาพผสมสีเท็จ (false

                   color) สามช่วงคลื่น เพื่อให้ภาพชัดเจนและง่ายต่อการวิเคราะห์มากขึ้น ท าการผสมสีดังนี้ ช่วงคลื่น

                   อินฟราเรดใกล้ (Near Infrared–NIR) ให้ผ่านตัวกรองแสงสีแดง (red filter) เนื่องจากช่วงคลื่นอินฟราเรด
                   ใกล้เป็นช่วงคลื่นที่พืชสีเขียวสะท้อนพลังงานมากที่สุด ดังนั้น บริเวณที่มีพืชใบเขียวอยู่ในภาพ จะมองเห็น

                   เป็นสีแดงชัดเจน ส่วนช่วงคลื่นสีแดงให้ผ่านตัวกรองแสงสีเขียว (green filter) และช่วงคลื่นสีน้ าเงินให้
                   ผ่านตัวกรองแสงสีน้ าเงิน (blue filter) หลังจากนั้น ท าการเน้นรายละเอียดของข้อมูลภาพด้วย

                   ข้อมูลภาพช่วงคลื่นเดียวหรือภาพขาว-ด า ที่มีรายละเอียดจุดภาพ 2 เมตร ซึ่งเทคนิคนี้หรือที่

                   เรียกว่า Pansharpening method จะท าให้ข้อมูลภาพสีมีรายละเอียดจุดภาพเพิ่มขึ้นเท่ากับ 2 เมตร
                                    - การผลิตภาพข้อมูลดาวเทียม LANDSAT 8 OLI จะใช้เทคนิคผสมสีเท็จ (false

                   color composite) โดยช่วงคลื่นอินฟราเรดใกล้ Near Infrared (NIR) (0.85 - 0.88 ไมครอน) ผ่าน

                   ตัวกรองสีแดง ช่วงคลื่นอินฟราเรดคลื่นสั้น1 (Short Wave Infrared1: SWIR1) (1.57 - 1.65 ไมครอน)
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34