Page 135 - แผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำคลองแอ่ง อำเภอบ่อไร่ จังหวัดตราด
P. 135

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                             101









                         การด าเนินงานตามแผนบริหารจัดการทรัพยากรดินเพื่อป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและ

                   ฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรม มีแนวทางการติดตามประเมินผลเพื่อประเมินผลสัมฤทธิ์ของแผนงาน โดยมีการ
                   ด าเนินการในด้านต่าง ๆ ดังนี้

                         1) การติดตามความก้าวหน้า ในการด าเนินงานตามแผนบริหารทรัพยากรดินเพื่อป้องกันการและ
                   ป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรม โดยการมีส่วนร่วมของหน่วยงานต่าง ๆ ทั้ง

                   ส่วนกลาง และระดับพื้นที่ โดยก าหนดให้มีการจัดท ารายงานผลการด าเนินงานประจ าปี การติดตาม

                   ประเมินผลส าเร็จ และผลกระทบจากการด าเนินงานตามแผนทุก 2 ปี มีการประเมินผลช่วงกลางแผน เพื่อ
                   ปรับเป้าหมายและตัวชี้วัด ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงรวมทั้งมีการประเมินผลเมื่อสิ้นสุด

                   การด าเนินการตามแผนปฏิบัติการ
                         2) จัดตั้งคณะกรรมการติดตามประเมินผล เพื่อติดตามความก้าวหน้าการด าเนินงาน และผลสัมฤทธิ์

                   ของงานในแต่ละด้านตามแผน ทั้งด้านปัจจัยน าเข้า (input) กระบวนการท างาน (process) ผลผลิต

                   (output) ผลลัพธ์ (outcome) และผลกระทบ (impact) ประกอบด้วย นักวิชาการจากส่วนกลาง
                   นักวิชาการและเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานระดับพื้นที่ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เข้ามามีส่วนร่วมในการติดตาม

                   ประเมินผลตามแผนปฏิบัติการ ที่มีการก าหนดกรอบตัวชี้วัดที่ครอบคลุมทุกมิติ ประกอบด้วย ประเด็นการ

                   วัดและติดตามประเมินผล ผู้จัดเก็บตัวชี้วัดและรายงานผล (ตารางที่ 6-2) พร้อมทั้งเสนอวิธีการจัดเก็บและ
                   ติดตามสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ ในการจัดท าฐานข้อมูลเพื่อ

                   ประเมินการเปลี่ยนแปลงตามตัวชี้วัด ประกอบด้วย ประเด็นการวัด รายการตรวจวัด ผู้รับผิดชอบ

                   ฐานข้อมูลกลางและฐานข้อมูลเชิงพื้นที่ (ตารางที่ 6-3)

                   ตารางที่ 6-2  กรอบตัวชี้วัดในการติดตามและประเมินผล

                    แผนบริหาร              ตัวชี้วัด                ประเด็นการวัด         ผู้รับผิดชอบ

                      จัดการ                                     และติดตามประเมินผล         ตัวชี้วัด
                    ระยะสั้น-ระยะกลาง

                    ปี 2562     - มีฐานข้อมูลด้านการชะล้าง    - ฐานข้อมูลมีความถูกต้อง    ผู้ก ากับตัวชี้วัด
                                พังทลายของดิน (soil erosion)    ตามหลักวิชาการ            กองแผนงาน

                                ในพื้นที่เกษตรกรรม
                                - มีต้นแบบแผนการบริหารจัดการ  - ต้นแบบแผนบริหารจัดการ     ผู้จัดเก็บและ

                                ทรัพยากรดินระดับลุ่มน้ าย่อยที่มี  ได้รับความเห็นชอบจาก  รายงานผลตาม
                                การก าหนดมาตรการด้านการ       คณะกรรมการและหน่วยงาน         ตัวชี้วัด
                                ป้องกันและฟื้นฟูทรัพยากรดินตาม  ที่เกี่ยวข้อง             คณะท างานฯ

                                สภาพปัญหาของแต่ละพื้นที่
   130   131   132   133   134   135   136   137   138   139   140