Page 166 - สถานภาพการชะล้างพังทลายของดินในประเทศไทย Status of Soil Erosion in Thailand
P. 166

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                    156




               ตารางที่ 5.3 จ านวนกล้าหญ้าแฝกที่ปลูกในแต่ละภาคของประเทศไทย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 - 2562


                ภาค                                    ปีงบประมาณ                         รวม
                                             2560          2561         2562        จ านวน       %
                ภาคเหนือ                   109,570,580    94,277,301   78,192,000  282,039,881   36.40
                ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ       69,658,744    60,262,480   62,982,250  192,903,474   24.89
                ภาคกลาง                     63,331,400    48,358,680   56,576,200  168,266,280   21.72
                ภาคใต้                      46,567,100    41,360,600   43,721,900  131,649,600   16.99
                          รวม              289,127,824   244,259,061  241,472,350  774,859,235  100.00

                        การใช้ประโยชน์จากหญ้าแฝกในพื้นที่เกษตรกรรมของประเทศไทยมีหลายรูปแบบ ประกอบด้วย
               4 กลุ่มหลัก ประกอบด้วย การป้องกันการชะล้างพังทลายของดิน การป้องกันตะกอนดินทับถมลงแหล่งน้ า
               การปรับปรุงบ ารุงดินและรักษาความชื้นในดิน และการปลูกเพื่อเป็นแปลงสาธิตและแปลงขยายพันธุ์
                        ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 มีการปลูกหญ้าแฝกเพื่อป้องกันตะกอนดินทับถมลงแหล่งน้ ามากที่สุด

               ประมาณ 166.4 ล้านกล้า รองลงมาปลูกเพื่อป้องกันการชะล้างพังทลายของดิน ปลูกเพื่อเป็นแปลงสาธิต และ
               แปลงขยายพันธุ์ และปลูกเพื่อปรับปรุงบ ารุงดินและรักษาความชื้นในดิน มีกล้าหญ้าแฝกประมาณ 70.6 3.8 และ
               0.6 ล้านกล้า ตามล าดับ (ตารางที่ 5.4) โดยมีรายละเอียด ดังนี้
                        - ภาคเหนือ มีการปลูกหญ้าแฝกเพื่อป้องกันการชะล้างพังทลายของดินมากที่สุด 39.5 ล้านกล้า
               รองลงมาปลูกเพื่อป้องกันตะกอนดินทับถมลงแหล่งน้ า แปลงสาธิต แปลงขยายพันธุ์ และปรับปรุงบ ารุงดิน
               และรักษาความชื้นในดิน  มีกล้าหญ้าแฝก 35.3 3.0 และ 0.3 ล้านกล้า ตามล าดับ
                        - ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีการปลูกหญ้าแฝกเพื่อป้องกันตะกอนดินทับถมลงแหล่งน้ ามากที่สุด

               52.8 ล้านกล้า รองลงมาปลูกหญ้าแฝกเพื่อป้องกันการชะล้างพังทลายของดิน ปลูกเพื่อเป็นแปลงสาธิต และ
               แปลงขยายพันธุ์ มีกล้าหญ้าแฝก 10.1 และ 0.08 ล้านกล้า ตามล าดับ ส าหรับการปลูกหญ้าแฝกเพื่อปรับปรุง
               บ ารุงดินและรักษาความชื้นในดิน มีกล้าหญ้าแฝกเพียง 7,500 กล้า
                        - ภาคกลาง มีการปลูกหญ้าแฝกเพื่อป้องกันตะกอนดินทับถมลงแหล่งน้ ามากที่สุด 38.9 ล้านกล้า
               รองลงมาปลูกเพื่อป้องกันการชะล้างพังทลายของดิน ปลูกเพื่อเป็นแปลงสาธิต แปลงขยายพันธุ์ และปลูกเพื่อ
               ปรับปรุงบ ารุงดินและรักษาความชื้นในดิน มีกล้าหญ้าแฝก 17.6  0.05 และ 0.01 ล้านกล้า ตามล าดับ
                       - ภาคใต้ มีการปลูกหญ้าแฝกเพื่อป้องกันตะกอนดินทับถมลงแหล่งน้ ามากที่สุด 35.2 ล้านกล้า รองลงมา
               ปลูกเพื่อป้องกันการชะล้างพังทลายของดิน ปลูกเพื่อเป็นแปลงสาธิต แปลงขยายพันธุ์  และปรับปรุงบ ารุงดิน
               และรักษาความชื้นในดิน มีกล้าหญ้าแฝก 7.6 0.6 และ 0.2 ล้านกล้า ตามล าดับ


               ตารางที่ 5.4 รูปแบบการใช้ประโยชน์หญ้าแฝกของประเทศไทย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562

                การใช้ประโยชน์หญ้าแฝก                               ภาค                          รวม
                                                  เหนือ     ตะวันออก     กลาง         ใต้
                                                            เฉียงเหนือ
                ป้องกันการชะล้างพังทลายของดิน   39,542,500  10,122,750  17,612,000  7,633,000  70,647,250
                ป้องกันตะกอนดินทับถมลงแหล่งน้ า   35,279,500  52,773,000  38,902,200  35,203,90  166,421,600
                ปรับปรุงบ ารุงดินและรักษาความชื้นดิน   340,000   7,500    12,000    261,000      620,500
                แปลงสาธิต และแปลงขยายพันธุ์      3,030,000     79,000     50,000    624,000    3,783,000
                              รวม               78,192,000  62,982,250  56,576,200  43,721,90  241,472,350
   161   162   163   164   165   166   167   168   169   170   171