Page 136 - สถานภาพการชะล้างพังทลายของดินในประเทศไทย Status of Soil Erosion in Thailand
P. 136

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                    126




                                  การใช้มาตรการอนุรักษ์ดินและน้ าทั้งมาตรการวิธีกลและวิธีพืชที่เหมาะสมตามระดับความ
               ลาดชันของพื้นที่นับเป็นปัจจัยส าคัญที่สุดในกระบวนการชะล้างพังทลายของดิน แบ่งออกเป็น 6 ระดับ คือ พื้นที่

               ราบเรียบถึงค่อนข้างราบเรียบ พื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย พื้นที่ลูกคลื่นลอนลาด พื้นที่ลูกคลื่นลอนชัน พื้นที่
               เนินเขา และพื้นที่ลาดชันเชิงซ้อนหรือที่ลาดชันสูง นอกจากจะพิจารณาระดับความลาดชันของพื้นที่เป็นส าคัญ
               แล้ว ยังได้พิจารณาสมบัติของดิน อาทิ เนื้อดิน ความลึกของดิน การระบายน้ า ปริมาณน้ าฝน ปริมาณน้ าไหลบ่า
               และการใช้ประโยชน์ที่ดิน (กรมพัฒนาที่ดิน, 2558) ดังแสดงในตารางที่ 4.5

               ตารางที่ 4.5 แนวทางป้องกันและแก้ไขปัญหาการชะล้างพังทลายของดินตามความลาดชันของพื้นที่


                   สภาพพื้นที่ (ความลาดชัน)     มาตรการอนุรักษ์วิธีกล          มาตรการอนุรักษ์วิธีพืช

                1) พื้นที่ราบเรียบถึงค่อนข้าง    ไถพรวนตามแนวระดับ ขณะดิน  ปลูกพืชหมุนเวียน ปลูกพืชแซม ปลูกพืช
                ราบเรียบ (0-2 เปอร์เซ็นต์)   ไม่แห้งหรือแฉะเกินไป ไม่ไถ  เหลื่อมฤดู ปลูกพืชคลุมดิน และปรับปรุง
                การระบายน้ าของดินเลวถึงเลว  พรวนมากเกินไป               บ ารุงดินโดยการไถกลบเศษพืช ใช้เศษพืช
                มาก มีน้ าท่วมขังในฤดูฝน  ส่วน   ปรับรูปแปลงนา ให้มีการระบาย  ซากพืชหรือวัสดุคลุมดิน ใช้ปุ๋ยอินทรีย์
                ใหญ่ใช้ท านา                 น้ าเข้าออกได้สะดวก โดยปรับรูป  ร่วมกับปุ๋ยเคมีตามค่าวิเคราะห์ดิน
                                             แปลงนาลักษณะที่ 1 กรณีท านา   ปลูกหญ้าแฝกเพื่อรักษาความชุ่มชื้นในดิน
                                             ปรับรูปแปลงนาลักษณะที่ 2    สวนไม้ผล หรือปลูกหญ้าแฝกริมขอบสระ
                                             กรณีปลูกข้าวร่วมกับพืชชนิดอื่น   หรือฝั่งตลิ่ง

                                             และปรับรูปแปลงนาลักษณะที่ 3   ปลูกพืชปุ๋ยสด เช่น ปอเทือง โสน และถั่ว
                                             กรณีปลูกไม้ผลหรือไม้ยืนต้น   ต่างๆ ก่อนการปลูกข้าว แล้วไถกลบลงดิน

                                            ปรับพื้นที่ให้ราบเรียบเสมอ   ปลูกพืชหมุนเวียนที่ปลูกพืชตระกูลถั่ว
                                             เพื่อให้เก็บกักน้ าได้ทั่วทั้งแปลง  สอดแทรกอยู่ในระบบพืชหลัก รวมทั้งการ
                                             นา และปรับปรุงบ ารุงดินหลัง  ใส่ปุ๋ยอินทรีย์ เช่น ปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมัก
                                             การปรับที่นา เพื่อสร้างหน้าดิน  ร่วมกับปุ๋ยเคมีตามความเหมาะสม

                                             ใหม่และท าให้โครงสร้างของดินดี
                                             ขึ้น ท าให้ดินเก็บรักษาความชื้น
                                             และเพิ่มธาตุอาหาร

                                            จัดหาแหล่งน้ า ควรพัฒนาและ
                                             สร้างบ่อน้ าในไร่นาเพื่อส ารองไว้
                                             ใช้ในฤดูแล้ง หรือฝนทิ้งช่วง
                2) ลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย     ท านาตามแนวระดับร่วมกับการ  ปลูกพืชคลุมดิน ช่วยป้องกันเม็ดฝนไม่ให้
                (2-5 เปอร์เซ็นต์)            ปรับปรุงบ ารุงดิน (พื้นที่ดอน)   ตกกระทบผิวดินโดยตรง ลดการชะล้าง
                ควรมีมาตรการอนุรักษ์ดินและ   ไถพรวนตามแนวระดับ          พังทลายของดิน ลดการแข่งขันของวัชพืช
                น้ าเพื่อป้องกันน้ าไหลบ่าและเก็บ   ท าคันดินร่วมกับการปลูกพืชคลุม  เพิ่มอินทรียวัตถุ และไนโตรเจนให้แก่ดิน
                กักตะกอนดิน                  ดินบนคันดิน อาทิ ถั่วคาโลโปโก  ปลูกพืชหมุนเวียน  ปลูกพืชไร่หมุนเวียน

                                             เนียม (Calopogonium         กับพืชตระกูลถั่วในแต่ละปี ช่วยลดวัชพืช
                                             mucunoides Desv.)           และลดศัตรูพืชและโรคแมลง  ท าให้พืชมี
                                             ถั่วไซราโตร (Macroptilium   การใช้ธาตุอาหารในดินอย่างมีประสิทธิภาพ
                                             atropurpureum DC.Urb.)      ปลูกพืชแถบอนุรักษ์ดินและน้ า ปลูกขวาง
                                             ถั่วคุดซู (Pueraria phaseoides   ความลาดชันของพื้นที่ เพื่อลดการชะล้าง
                                             Benth.)
   131   132   133   134   135   136   137   138   139   140   141